Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสอบสวนการระบาดของโรคและภัย - Coggle Diagram
การสอบสวนการระบาดของโรคและภัย
ขั้นตอนการสอบสวนการระบาดของโรคและภัยสุขภาพและกรณีศึกษา
การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย (Individual case investigation)
1) รวบรวมข้อมูลการป่วย ไปพบผู้ป่วย หรือญาติที่สถานที่รักษาพยาบาล พบแพทย์/
ผู้ให้การรักษา และสอบสวนเพิ่มเติมที่บ้านผู้ป่วย
ประวัติอาการและอาการแสดง
การวินิจฉัยของแพทย์
ผลการตรวจทางห้องชันสูตร
สภาพแวดล้อมของผู้ป่วย
ข้อมูลอื่นตามชนิดของโรค เช่น โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ต้องมีข้อมูลประวัติการได้รับวัคซีนในผู้ป่วย และความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในพื้นที่
2) ค้นหาขอบเขตการกระจายของโรคในคน เน้นผู้สัมผัสในครอบครัวของผู้ป่วยและผู้สัมผัสในชุมชน
3) เก็บตัวอย่างส่งตรวจ ช่วยให้มั่นใจว่าการมีผู้ป่วยเพียงรายเดียวนั้น เชื้อโรคสาเหตุ ได้กระจายไปในสิ่งแวดล้อมและผู้สัมผัสมากน้อยเพียงไร
4) ควบคุมโรค (ขั้นต้น) รีบดำ เนินการทำลายเชื้อในสิ่งแวดล้อมและผู้สัมผัส รวมถึงมาตรการควบคุมโรคอื่นๆ เช่น รณรงค์สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เพื่อให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อชุมชน(Herd immunity)
5) เขียนรายงาน เป็นการเสนอรายละเอียดทั้งหมดให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ พร้อมกับ“แบบสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย” ที่สมบูรณ์
การสอบสวนการระบาด (Outbreak investigation)
1) ยืนยันการวินิจฉัยโรค (Confirm diagnosis)
2) ยืนยันว่ามีการระบาดจริง (Outbreak verification)
3) รวบรวมข้อมูลระบาดวิทยาเชิงพรรณนา (Descriptive epidemiology)
รวบรวมจำ นวนผู้ป่วย/ตาย และแสดงขนาดของปัญหา
วิเคราะห์อาการป่วยที่สำคัญ
วิเคราะห์การกระจายตามเวลา บุคคล และสถานที่
4) ตั้งสมมติฐานของการระบาด (Hypothesis formation)
โรคแพร่ได้อย่างไร (Transmission )
แหล่งแพร่เชื้ออยู่ที่ไหน (Source)
ปัจจัยเสี่ยงของบุคคล (Risk factor) คืออะไร :
5) ศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์(Analytic epidemiology) เพื่อพิสูจน์สมมติฐาน
6) ศึกษาสภาพแวดล้อมและสิ่งประกอบอื่นๆ (Environmental study)
8) สรุปสาเหตุและเขียนรายงาน
7) ดำเนินการควบคุมการระบาด และข้อเสนอแนะ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการระบาดของโรคและภัย
การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย
ข้อมูลที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับผู้ป่วย ในแง่บุคคล เวลา สถานที่
ข้อจำกัด
ข้อมูลอาจไม่สมบูรณ์เนื่องจากความร่วมมือ/ความจำของผู้ป่วย
การสอบสวนการระบาด
ข้อจำกัด
ข้อมูลอาจไม่สมบูรณ์เนื่องจากความล่าช้าในการรายงาน
ข้อมูลที่ให้รายละเอียดว่าโรคอะไร ติดต่อกันอย่างไร ผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคเป็นใคร
การค้นหาข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับการเกิดโรคภัยไข้เจ็บที่เป็นปัญหาสาธารณสุข ด้วยการรวบรวมข้อมูลรายละเอียดด้านระบาดวิทยา สิ่งแวดล้อม และการชันสูตรทางห้องปฏิบัติการเพื่อให้ได้ปัจจัยสำคัญที่จะอธิบายถึงสาเหตุของการเกิดโรค หรือการระบาดของโรค หรือเหตุการณ์นั้น มีการดำ เนินการ 2 ลักษณะคือ การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย และการสอบสวนการระบาด
ประโยชน์ข้อจำกัดของการสอบสวนการระบาด และเครือข่ายความร่วมมือสอบสวนโรค
ทราบสถานการณ์
สุขภาพ
การดำเนินงานด้าน
สาธารณสุข
การสอบสวนการระบาดและควบคุมโรค
การวางแผน
การแยกผู้ป่วยและผู้สัมผัสโรค
การประเมินผลมาตรการในการป้องกันควบคุมโรค
ตรวจจับการระบาด การเปลี่ยนแปลง รูปแบบการเกิดโรคการกระจายของโรค
ติดตามการเปลี่ยนแปลงของเชื้อก่อโรค และธรรมชาติการเกิดโรค
ติดตามการเปลี่ยนแปลงลักษณะประชากร
ติดตามการเปลี่ยนแปลงเวชปฏิบัติ
การเฝ้าระวังโรคไม่ใช่การเก็บสถิติแต่เฝ้าระวังเพื่อที่จะได้ “ รู้”และป้องกันควบคุมโรคได้ทันเวลาต้องเป็น Surveillance for action