Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมือเข้ารับ การรักษาที่โรงพยาบาล :children_crossing:, อ้างอิง,…
การดูแลเด็กเมือเข้ารับ
การรักษาที่โรงพยาบาล :children_crossing:
:checkered_flag:
เด็ก
ความหมาย
พจนานุกรม
คนที่มีอายุยังน้อย
บุคคลที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีลงมา
ผู้ซึ่งอายุยังไม่ครบ 18 ปีบริบูรณ์และยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส
บุคคลผู้มีอายุไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์
บุคคลอายุเกิน 7 ปีบริบูรณ์แต่ยังไม่เกิน 14 ปีบริบูรณ์
ด้านสุขภาพ
หมายถึงบุคคลตั้งแต่แรกเกิด ถึง 15 ปี
ช่วงวัยของเด็ก แบ่งตามระยะพัฒนาการ
Infant
ทารกอายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
Toddler
เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Newborn
ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Preschool age
เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
School age
เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Aldolescent
วัยรุ่น 13-15 ปี
สิทธิ
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิที่เด็กได้รับปกป้องคุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ
สิทธิในด้านพัฒนาการ
เด็กทุกคนจะได้รับสิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับ
พัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิของเด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย
สิทธิในการมีส่วนร่วม
เป็นสิทธิที่ให้ความสำคัญกับการแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการกระทำของเด็ก ในการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่อาศัยอยู่
:checkered_flag:
ความเข้าใจเกี่ยวกับการตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ physiological reflex เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
พ่อ แม่ ตลอดจนบุคลากรทีมการดูแล ควรช่วยให้เด็กผ่านช่วงเวลาของ
ความตายโดยไม่ทุกข์ทรมานไม่ปล่อยให้เด็กเผชิญความตายเพียงลำพัง
อายุ> 6 เดือนผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
อายุ < 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย ไม่มีความหมาย
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
เด็กวัยนี้บางคนอาจเข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบ
สมบูรณ์ โดยเฉพาะเด็กที่เคยเผชิญการตายของสัตว์เลี้ยงหรือผู้ใหญ่
ความตายเปรียบเหมือนการนอนหลับ ทำให้เด็กบางคนกลัว
การนอนกลัวว่าหลับแล้วอาจจะตายแล้วไม่ตื่นอีกเลย
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้(Reversible)เหมือนการไปเที่ยวชั่วคราว
วัยเรียน
เรียนรู้มากขึ้นเรื่อยๆ ว่า ตนเองอาจจะมีชีวิต เติบโต หรือตายจากไป
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
เข้าใจความหมายของความตาย เรียนรู้ว่าตายแล้วจะกลับคืนมาอีกไม่ได้ เข้าใจเรื่องของเวลา อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
เข้าใจความเป็นตัวของตัวเอง มองความตายที่มีต่อตนเองได้ชัดขึ้น
วัยรุ่น
เป็นวัยที่มีความเป็นส่วนตัว เป็นตัวของตัวเองมาก
ต้องการจัดการสิ่งที่เกิดขึ้นและเกี่ยวข้องกับตัวเองด้วยตัวเอง
ไม่ต้องการการบังคับ หรือควบคุม
เป็นวัยที่ยังมองความตายเป็นเรื่องที่ไกลตนเอง ยอมรับความตายของตนเองยากที่สุดเหมือนการลงโทษ
พ่อแม่หรือผู้ดูแล ต้องให้ความสนใจ ดูแลเอาใจใส่ ตอบสนองความต้องการแม้ไม่ได้ร้องขอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงระยะสุดท้ายของชีวิต จะทำให้เด็กยอมรับการช่วยเหลือนั้นโดยไม่รู้สึกเสียศักดิ์ศรีความเป็นตัวเอง
:checkered_flag:
ความเจ็บป่วย
ระยะ
ระยะวิกฤต (Crisis)
เป็นระยะที่มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็วการ
ดูแลเน้นการรักษา ดูแลประคับประคองทั้งร่างกายจิตใจ
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย (Death / Dying)
เป็นระยะที่ได้รับการวินัจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นเสียชีวิต
ระยะเรื้อรัง (Chronic)
เป็นระยะที่รักษาไม่หายขาด
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
รุนแรงมาก ใช้ในวงการแพทย์
ความคิด
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา(อายุ 18 เดือน – 7 ปี)
ประเภทที่ 1
ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2
สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ประเภท 0
ตอบแบบไม่เข้าใจ
ระดับความคิดความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11ปี)
ประเภทที่ 3
การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4
ภายในร่างกาย
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม
(อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่)
ประเภทที่ 5
ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดี หรือไม่ทำงาน
ประเภทที่ 6
เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
:checkered_flag:
ผลกระทบ
วัยก่อนเรียน
การที่เด็กมารับการตรวจการปฏิบัติการรักษาและต้องอยู่ในโรงพยาบาลบ่อยครั้ง
เด็กจะคิดว่าความเจ็บป่วยและการต้องอยู่ในโรงพยาบาล
เป็นการถูกลงโทษเนื่องจากตนเองคิดหรือทำในสิ่งที่ไม่ดีมากที่สุด
เด็กที่ป่วยบ่อยหรือเจ็บป่วยเรื้อรังจะมีความยากลำบากในการเรียนรู้
วัยเรียน
เด็กที่เจ็บป่วยโดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรังทำให้หย่อนความสามารถ
เรื่องการเรียนการเล่นกีฬา และการที่จะทำอะไรได้เช่นเดียวกับเพื่อนกลุ่มเดียวกัน
ทำให้รู้สึกสูญเสียการนับถือตนเองรู้สึกมีปมด้อย และถูกปฏิเสธจากกลุ่ม
การขาดเรียนบ่อยๆอาจต้องเรียนซ้ำชั้นทำให้เด็กรู้สึกมีปมด้อยมากขึ้น
เด็กวัยนี้จะเป็นวัยที่มุ่งมั่นต่อผลสำเร็จ มีการสังคมนอกบ้านในกลุ่มเพื่อนที่โรงเรียน
วัยเดิน
เป็นวัยอิสระ อยากรู้อยากเห็น ไม่เคยแยกขาดจากบิดามารดา
อาจทำให้เด็กคิดว่าตัวเองถูกทอดทิ้ง ในกรณีที่ต้องเข้ารับการรักษายาวนานเรื้อรัง
เมื่อเจ็บป่วยบิดามารดาอาจจะปกป้องคุ้มครองมากเกินไปเด็กถูกบังคับ
ให้พึ่งบิดามารดาจะทำให้รู้สึกหวาดกลัวหรือไม่กล้าริเริ่มทำอะไรได้
วัยรุ่น
เด็กที่เจ็บป่วยบ่อย จะมีผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นในตนเองภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
มีการค้นหาเอกลักษณ์ความเป็นตัวของตัวเอง มีความเป็นอิสระ
วัยทารก
การเจ็บป่วยที่ทำให้ร่างกายพิการที่มองเห็นเด่นชัดตั้งแต่เกิดจะมีผลกระทบต่อความผูกพันระหว่างมารดาและทารก
การเจ็บป่วยทำให้เด็กรู้สึกไม่สุขสบาย
ส่งผลต่อความต้องการทั่วไปของทารก
กินได้น้อยลง
ถูกจำกัดกิจกรรม
ปฏิกิริยา
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว
การสูญเสียความสามารถ
ในการควบคุม (loss of control)
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ (body image)
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา (body injury and pain)
ความตาย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก
(separation anxiety)
:checkered_flag:
การพยาบาล
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Pain management
Critical care concept
Separation anxiety
ระยะประท้วง (protest)
เด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรงมาก ร้องตลอดเวลาจะหยุดร้องเฉพาะเวลานอนเท่านั้น
เด็กพยายามที่จะให้มารดาอยู่ด้วยการร้องไห้ประท้วงรุนแรงมากขึ้นเมื่อมารดาจะจากไป
เมื่อมารดามาเยี่ยมแด็กจะประท้วงมากขึ้น ร้องไห้มากขึ้น
ระยะสิ้นหวัง(despair)
แยกตัวอยู่เงียบ ๆ ร้องไห้น้อยลง เสียงครางโยเยท่าทางอ่อนเพลีย อิดโรย
อย่างน่าสงสาร รวมทั้งมีพฤติกรรมที่ถดถอย (regression) ทำร้ายตัวเอง
ระยะนี้เด็กจะยอมร่วมมือในการรักษาที่เจ็บปวดต่อต้านเพียงเล็กน้อยยอมกินอาหาร
เมื่อมารดามาเยี่ยม เด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรง แสดงพฤติกรรมโมโห
อาจสรุปว่า เมื่อมารดาไม่อยู่เด็กจะมีพฤติกรรมดีกว่า ไม่ส่งเสริมให้มารดามาเยี่ยม ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่ผิด
ระยะปฏิเสธ(denial)
ระยะนี้เด็กจะหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว เหมือนกับว่าเด็กปรับตัวได้ แต่เด็กเพียงเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อมารดาไว้
เด็กแสดงท่าทางราวกับว่าไม่เดือดร้อนไม่ว่ามารดาจะมาหรือจะไป จะหันไปสร้างสัมพันธภาพอย่างผิวเผินกับเจ้าหน้าที่พยาบาลหลายๆ คน
แต่หลีกเลี่ยงที่จะไปใกล้ชิดกับใครคนใดคนหนึ่ง ไม่กล้าเสี่ยงที่จะใกล้ชิดและไว้วางใจบิดามารดาอีกต่อไป
Stress and coping
ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล มักจะมีความสัมพันธ์กับอาการรุนแรงของโรคที่เด็กเป็น
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอ านาจต่อรอง
ความรู้สึกเศร้า
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
สนับสนุนครอบครัวให้ทำหน้าที่ผู้ดูแลเด็กขณะเจ็บป่วยในโรงพยาบาล
สนับสนุนครอบครัวให้ทำหน้าที่ผู้ดูแลเด็กขณะเจ็บป่วยในโรงพยาบาล
ให้เกียรติซึ่งกันและกัน และให้ความไว้วางใจ
สื่อสารทำความเข้าใจถึงบทบาท และความคาดหวังของกันและกัน
วางแผนการดูแลรักษาและตัดสินใจร่วมกัน
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและสมบูรณ์แก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่อง
อธิบายคำศัพท์ทางการแพทย์ให้ครอบครัวได้เข้าใจ
ให้ข้อมูลบิดามารดาทั้งทางวาจาและลายลักษณ์อักษร
อธิบายเหตุผล เป้าหมายการรักษา ตอบข้อสงสัย
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก ในขณะที่บุคลากรด้านสุขภาพและระบบบริการสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลง
ให้ความสำคัญกับการตัดสินใจของสมาชิกในครอบครัว และช่วยเหลือครอบครัวในการตัดสินใจในการดูแลเด็ก
ให้ความสำคัญกับสิ่งที่ครอบครัวกังวลหรือเห็นว่าสำคัญ
สนับสนุนครอบครัวให้ทำหน้าที่ผู้ดูแลเด็กขณะเจ็บป่วยในโรงพยาบาล
สนับสนุนครอบครัวให้ทำหน้าที่ผู้ดูแลเด็กขณะเจ็บป่วยในโรงพยาบาล
Pain assessment
การประเมินความเจ็บปวดควรถามเกี่ยวกับ
ตำแหน่งที่ปวด
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวด : เจ็บตลอดเวลา เป็นๆหายๆ
ความรุนแรงของความปวด
ลักษณะการเจ็บปวด: เจ็บ ปวด แสบ ปวดแสบ ปวดร้อน
ผลกระทบต่อความปวด :หงุดหงิด ก้าวร้าว นอนไม่หลับ
ปัจจัยที่ทำให้ปวดมากขึ้น ลดลง
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpainในเด็ก
CHEOPS (Children’s Hospital of Eastern Ontario Pain Scale )
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ; Cry ; Consolability Scale)
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
Faces scale
CRIES Pain Scale
Numeric rating scales
การประเมินปวดตามวัย
แรกเกิด - อายุ 3 ปี
รายงานด้วยตนเองไม่ได้
พฤติกรรมทางเลือกแรก
สรีระวิทยาทางเลือกที่สอง
3 - 6 ปี
รายงานด้วยตนเองได้บ้าง
พฤติกรรมทางเลือกแรกร่วมกับการรายงานด้วยตนเอง
สรีระวิทยาทางเลือกที่สอง
>
6 ปี
รายงานด้วยตนเองทางเลือกแรก
พฤติกรรมทางเลือกที่สอง
สรีระวิทยาอาจใช้ประกอบ
อ้างอิง
วิภารัตน์ ยมดิษฐ์.(2563).
บทที่ 1 การดูแลเด็กเมื่อเจ็บป่วย.
วันที่สืบค้น 22 พฤษภาคม 2563.เข้าถึงได้จาก
https://classroom.google.com/u/1/w/NzMzNjU4Njc4NDla/t/all
:memo:นางสาวสุทธิดา ศรียลักษณ์ เลขที่ 41 ห้อง 2 รุ่น 36/2