Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Behavioral Theory ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม - Coggle Diagram
Behavioral Theory ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
หลักการสำคัญของทฤษฎีที่ศึกษา
พฤติกรรมของมนุษย์มิได้มาจากแรงผลักดันภายในตัวบุคคลหรือจากสัมพันธภาพที่บุคคลมีต่อผู้อื่น แต่เป็นปัญหาที่การกระทำนั้นๆ โดยตรง
พฤติกรรมเกิดจากการเรียนรู้ : พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเกิดจากการเรียนรู้ที่ไม่ถูกต้อง ให้แก้ไขที่การเรียนรู้ใหม่เพื่อทดแทนด้วยพฤติกรรมใหม่ที่เหมาะสมกว่า
เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการที่มีสิ่งเร้าภายนอกมากระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม มักจะเกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ซึ่งอาศัยความใกล้ชิดและฝึกหัด
สุนัขเห็นอาหาร >> น้ำลายไหล (สิ่งเร้าที่ไม่ต้องการเงื่อนไข >> การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข)
สุนัขเห็นอาหาร + ได้ยินเสียงกระดิ่ง >>น้ำลายไหล(สิ่งเร้าที่ไม่ต้องการเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ต้องการเงื่อนไข >> การตอบสนองที่ไม่ต้องวางเงื่อนไข)
สุนัขได้ยินเสียงกระดิ่งเพียงอย่างเดียว >>น้ำลายไหล(สิ่งเร้าที่ต้องการเงื่อนไข >> การตอบสนองที่ต้องวางเงื่อนไข)
สาเหตุ/ปัจจัยที่อธิบายการเกิดโรคตามทฤษฎีที่ศึกษา
อาการทางจิตเป็นปฏิกิริยาต่อสิ่งเสริมแรงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติของมนุษย์ พฤติกรรมเป็นผลมาจากประสบการณ์การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในอดีตและสิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวในปัจจุบัน
Joseph Wolpe เชื่อว่า การเจ็บป่วยทางจิตเกิดจากบุคคลไม่สามารถปรับตัวต่อสิ่งเร้าในสถานการณ์ที่ทำให้เกิดความวิตกกังวลพฤติกรรมที่แสดงออกมานั้นแม้จะดูแปลกต่อสายตาของผู้อื่น แต่สามารถลดความรู้สึกวิตกกังวลที่เกิดขึ้นได้
รูปแบบการรักษา/กิจกรรมการพยาบาล
1.การรักษาแบบ Wolf ที่พัฒนาโดย JosephWolpe : สร้างสถานการณ์และวางเงื่อนไขอย่างเหมาะสม (Classical Conditioning) เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนหรือลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
การลดความวิตกกังวลอย่างมีระบบ (Systematic Desensitization)
การจัดลำดับความวิตกกังวลจากน้อยไปหามาก
การฝึกเทคนิคผ่อนคลายกล้ามเนื้อ (muscle relaxtion)
การจับคู่ระหว่างสิ่งที่ทำให้เกิดการผ่อนคลายกับสภาวะที่ทำให้เกิด
ความวิตกกังวล
ค่อย ๆ เผชิญกับสถานการณ์ที่ทำให้เกิดความรู้สึกวิตกกังวลทีละน้อยควบคู่ไปกับการปฏิบัติการผ่อนคลาย พร้อมกับจดบันทึกปฏิกิริยา/ความรู้สึกที่มีต่อการรักษาในแต่ละขั้น
การฝึกการแสดงออกถึงความรู้สึกที่ควรแสดงออกในสังคมโดยไม่วิตกกังวล (Assertive training) โดยผู้บำบัดกับผู้ป่วยผลัดกันเล่นบทบาทและให้ผู้ป่วยดูจุดบกพร่องของการแสดงบทบาทนั้นๆ เพื่อให้เห็นว่าพฤติกรรมส่วนใดของตนควรได้รับการแก้ไขและนำไปฝึกหัดทำต่อไป
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ
(Operant Conditioning Theory)
หนูเห็นแสงไฟ >> ไม่มีการตอบสนอง
หนูเห็นแสงไฟ >> หนูกดกระเดื่อง >> หนูได้รับอาหาร
หนูเห็นแสงไฟ + หนูได้รับอาหาร >> หนูกดกระเดื่อง
สาเหตุ/ปัจจัยที่อธิบายการเกิดโรคตามทฤษฎีที่ศึกษา
B.P. Skinner เชื่อว่า พฤติกรรมเกิดขึ้นและดัดแปลงให้เกิดขึ้นได้จากการเรียนรู้และการจัดกระทำกับสิ่งแวดล้อม โดยการเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เป็นแรงเสริมทางบวก และแรงเสริมทางลบ ก็จะทำให้พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมถูกปรับเปลี่ยนไป
รูปแบบการรักษา/กิจกรรมการพยาบาล
Positive Reinforcement เป็นการเพิ่มความถี่ของพฤติกรรมโดยการให้แรงเสริมทางบวก เพื่อให้แสดงพฤติกรรมที่ต้องการและลดพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
Negative Reinforcement เป็นการลดสิ่งเร้าที่ผู้ป่วยพึงพอใจ เมื่อเกิดพฤติกรรมที่เป็นปัญหาและต้องการให้เปลี่ยนเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์
Token Economy เป็นการใช้เหรียญแทนเงินเป็นเครื่องล่อในการให้รางวัล เมื่อผู้ป่วยแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม
ใช้หลักการเรียนรู้แบบลงมือกระทำ (Operant Conditioning) ด้วยการให้แรงเสริมทางบวก/ทางลบ ต่อการกระทำของผู้ป่วย และการให้เหรียญรางวัลแก่ผู้ป่วยเมื่อผู้ป่วยมีพฤติกรรมที่เหมาะสม (Token Economy)