Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีความผิดปกติของปัจจัยการคลอด
(Abnormal powers)
มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
Hypertonic uterine dysfunction
Tetanic contraction
มดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
มดลูกหดรัดตัวแข็งตลอดเวลา
สาเหตุ
1. จากการคลอดติดขัด (Obstructed labor)
ทำให้เกิด
Bandl's ring
มดลูกแตกได้
2. Non-obstructed labor
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกมากเกิน/เร็วเกิน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
Constriction ring
กล้ามเนื้อมดลูกชนิดวงกลมหดรัดตัวไม่คลายเฉพาะที่
พบรอยต่อระหว่างมดลูกส่วนบนและส่วนล่าง
เกิดขึ้นในระยะรอคลอด ระยะคลอด ระยะรกคลอด
สาเหตุ
ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกมากเกินไป
ทำสูติศาสตร์หัตถการ
น้ำคร่ำน้อย
ผลกระทบ
ทารกขาดออกซิเจนและเสียชีวิตได้
รกค้างตกเลือด
Incoordinated uterine contraction
มดลูกแต่ละส่วนหดรัดตัวไม่ประสานกัน
พบร่วมกับ CPD ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ครรภ์แรก
กลัวและวิตกกังวลมาก
มดลูกหดรัดตัวแรง (แรงต้นขณะหดรัดตัว > 50 mmHg)
หดรัดตัวแต่ละครั้งห่างกัน < 2 นาที ระยะพัก < 30 นาที
การพยาบาล
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถามและระบายความรู้สึก
ประเมิน contraction & FHS ทุก 1 ชม.(Latent), ทุก 30 นาที(Active)
ดูแลให้ยาระงับความเจ็บปวด
ส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด จัดให้นอนท่าตะแคงศีรษะสูง
ดูแลให้ IV fluid
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ติดตามและประเมิน FHS อย่างต่อเนื่อง (EFM)
เตรียมผู้คลอด พร้อมอุปกรณ์ต่างๆ สำหรับ V/E , C/S
Hypotonic uterine dysfunction
การหดรัดตัวของมดลูกเป็นจังหวะตาม Symmetrical contraction แต่แรงดันที่เกิดจากการกดรัดตัวไม่เพียงพอ
แรงดันมดลูกขณะหดรัดตัว <25 mmHg
หดรัดตัว< 2 ครั้งใน 10 นาที
มักเกิดในระยะ Active phase
สาเหตุ
มดลูกยืดขยายมากกว่าปกติ
ส่วนนำทารกไม่กระชับกับปากมดลูก
มีความผิดปกติของมดลูก
ผลกระทบ
acidosis
การทำสูติศาสตร์หัตถการ
PPH
ทารกขาดออกซิเจน
การพยาบาล
เข้า Active phase + ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจ เปิดโอกาสซักถาม
กระตุ้นให้ลุกเดินหรือนอนท่าศีรษะสูง
Ferguson reflex
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ดูแลให้ได้รับการทำ ARM- หลังทำ ARM ประเมิน Ut.contraction
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดทุก 2 ชม.
ประเมิน FHR ทุก 30-60 นาที
เข้า Active phase + ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ดูแลความสะอาดของร่างกายและใช้ผ้าซับน้ำคร่ำเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ประเมิน V/S
เตรียมพร้อมการทำสูติศาสตร์หัตถการ
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ยังไม่เข้า Active phase + ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
อธิบายให้ผู้คลอดเข้าใจ เปิดโอกาสซักถาม
กระตุ้นให้ลุกเดินหรือนอนท่าศีรษะสูง
Ferguson reflex
ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ประเมิน Ut.contraction
แรงเบ่งผิดปกติ
การวินิจฉัย
เบ่งสั้นเกินไป เบ่งนานเกินไป เบ่งมีเสียง
ท่ามนการเบ่งไม่เหมาะสม
มีอาการเหนื่อยล้า อ่อนเพลีย
ขณะเบ่งปากช่องคลอดไม่ขยาย
ส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำ
ผลกระทบ
ตะคริวที่ขา
acidosis
ทารกขาดออกซิเจน
กลัวเครียด กังวล
สาเหตุ
ได้รับยาชาทางไขสันหลัง
หมดสติ ไม่รู้สึกตัว
ได้รับยาบรรเทาอาการปวดมากเกินไป
เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย ได้รับสารน้ำไม่เพียงพอ
ผู้คลอดดิ้นไปมา ควบคุมตัวเองไม่ได้
มีพยาธิสภาพหรือโรคที่เบ่งไม่ได้
ผู้คลอดเบ่งไม่ถูกต้อง
การพยาบาล
ถ้าปาดมดลูกยังเปิดไม่หมด ไม่ควนเบ่ง แนะนำวิธีลดลมเบ่ง
ถ้าปากมดลูกเปิดหมดแต่ส่วนนำยังไม่ถึงพื้นเชิงกรานสามารถรอจนกว่าผู้คลอดรู้สึกอยากเบ่ง
สอนเบ่งอย่างถูกวิธี
จัดท่าในการเบ่งอย่างเหมาะสม
ชมเชยให้กำลังใจ
เช็ดหน้า เช็ดตัวและให้พักขณะมดลูกคลายตัว
ประมิน Ut.contraction FHS ถ้าผิดปกติรายงานแพทย์
นายอนุพงศ์ วิชัยวุฒิ เลขที่ 87 ชั้นปี 3