Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ, นางสาวอมรรัตน์ …
การพยาบาลสตรีที่ได้รับการช่วยคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
Vacuum Extraction delivery
การทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ โดยผู้ทำคลอดออกแรงดึงบนถ้วยที่เกาะติดกับหนังศีรษะทารกด้วยระบบสุญญากาศ เป็นการเสริมแรงเบ่งผู้คลอด
ข้อบ่งชี้
ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ (OP)
Prolong 2nd stage of labor (ครรภ์แรกนาน > 2 ชม. , ครรภ์หลังนาน > 1 ชม.)
ผู้คลอดไม่มีแรงเบ่งเพียงพอ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ผู้คลอดมีโรคประจำตัว หรือ ถาวะแทรกซ้อนที่ไม่ควรออกแรงเบ่ง เช่น ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ
ข้อห้าม
ทารกมีภาวการณ์แข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ทารก preterm
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง ท่าก้น หรือท่าหน้า
ภาวะ CPD
ส่วนนำทารกอยู่สูง
ทารกมีภาวะ macrosomia
ทารกได้รับการเจาะเลือดศีรษะก่อนคลอด (fetal scalp blood sampling)
ทารกมีภาวะ fetal distress
ข้อพิจารณาก่อนทำ
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
กระเพาะปัสสาวะไม่เต็ม
ไม่มีก้อนเนื้องอกมาขวางช่องทางคลอด
ทราบท่าทารกและระดับส่วนนำ
ปากมดลูกเปิดหมด
ได้รับยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่เพียงพอ
หลักการและวิธีการช่วยคลอด
ด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
การเตรียมผู้คลอด
จัดท่า Lithotomy
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก + ฝีเย็บ ด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
ปูผ้าสะอาดปราศจากเชื้อ
สวนปัสสาวะให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ให้ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ นิยมใช้ pudendal block
ห้ามใช้ยาสลบ
ตรวจภายในประเมินท่า ตำแหน่ง occiput หรือ posterior fontanelle การ molding
การใส่ถ้วยสุญญากาศ
ระยะเวลาในการลดความดัน
ค่อยๆ ลดความดันลง 0.1 กก./ตร.ซม. ทุก 1 นาที หรือ 0.2 กก./ตร.ซม. ทุก 2 นาที จนถึง 0.6 – 0.8 กก./ตร.ซม.
ปกติใช้เวลา 8-10 นาทีเพื่อให้เกิด artificial caput succedaneum เต็มที่ ทำให้ cup จับกับศีรษะทารกแน่น ไม่หลุดง่ายเวลาออกแรงดึง
จังหวะ ระยะเวลาและทิศทาง
ในการดึง การตัดฝีเย็บ
ระยะเวลาการดึงไม่ควรเกิน 30 นาที นานกว่านี้อาจเกิดอันตรายต่อศีรษะทารกได้
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้คลอด
การฉีกขาดของปากมดลูก ช่องคลอด ฝีเย็บ
PPH
Infection
ทารก
Cephalhematoma (เลือดออกใต้ชั้นเยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ)
Caput succedaneum (การบวมของหนังศีรษะ)
Scalp abrasion/laceration (การถลอกหรือการฉีกขาดของหนังศีรษะ)
Scalp necrosis
Alopecia
Intracranial hemorrhage
Neonatal jaundice
การพยาบาล
ขณะทำ
ฟัง FHS ทุก 5 นาที / On EFM
ขณะแพทย์ใส่เครื่องดูดสุญญากาศ ให้ผู้คลอดผ่อนคลายไม่เกร็ง (ให้ผู้คลอดหายใจเข้าออกลึกๆ)
พยาบาลต้องจับเวลาในขณะที่เครื่องลดความดัน
ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งขณะแพทย์กำลังตัดฝีเย็บ
กรณีช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศล้มเหลว เตรียมผู้คลอดและอุปกรณ์สำหรับผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องโดยทันที
หลังทำ
ประเมิน V/S , การหดรดตัวของมดลูก, กระเพาะปัสสาวะ และ การฉีกขาดของช่องทางคลอด เพื่อระวังการเกิดภาวะ PPH
แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ เพื่อป้องกันการตกเลือด
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่อ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังคลอด
ก่อนทำ
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับการรักษา เหตุผล ภาวะแทรกซ้อน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและคลายความกังวล
จัดท่าผู้คลอดท่า Lithotomy สวนปัสสาวะ
เตรียมเครื่องดูดสุญญากาศ อุปกรณ์สำหรับการให้ยาระงับคงวามรู้สึกเฉพาะที่ และ อุปกรณ์ช่วยเหลือทารก
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ + ยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูก
Placenta removal (การล้วงรก)
การล้วงรก (manual removal of placenta) เป็นหัตถการสำคัญช่วยผู้คลอดจาการตกเลือดจากปัญหารกค้างได้
สาเหตุ
ภาวะ cervical clamp
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ภาวะรกลอกตัวช้า ลอกตัวไม่สมบูรณ์ หรือไม่ลอกตัว
รกฝังตัวลึกผิดปกติ (placenta adherens)
ข้อบ่งชี้
ภายหลังทารกคลอดครบ ระยะที่ 3 นานกว่า 30 นาที และเลือดออกไม่เกิน 400 มิลลิลิตร
มีเลือดออกมากกว่า 400 มิลลิลิตร ภายหลังทารกคลอดโดยไม่คำนึงถึงระยะเวลาที่รกค้าง
สายสะดือขาดและหดกลับเข้าไปในช่องคลอด โดยไม่สามารถเข้าไป Clamp จุดที่ขาดได้
ห้ามผู้คลอดในภาวะช็อค
ผลกระทบ
PPH
มดลูกปลิ้น
Infecttion
มีการฉีกขาดของ fornix
มดลูกทะลุจากการเซาะ
การพยาบาล
ขณะทำ
ประเมิน V/S ทุก 5 นาที
ประเมิน contraction ปริมาณเลือดที่ออกจากช่องคลอดและฝีเย็บ
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
หลังทำ
ประเมิน V/S , contraction , bladder , การฉีกขาดของช่องคลอดและปริมาณเลือด เพื่อเฝ้าระวังการเกิดภาวะ PPH
แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ
แนะนำการเปลี่ยนผ้าอนามัยและการทำความสะอาดภายหลังการขับถ่ายทุกครั้งเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
ดูแลได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่ออย่างน้อย 2 ชม.หลังคลอด
ก่อนทำ
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา
จัดท่า Lithotomy
ดูแลการได้รับยาระงับความรู้สึกแบบทั่วไปโดยวิสัญญี
เตรียมอุปกรณ์ล้วงรกให้พร้อม
ดูแลการได้รับ IV fluid ตามแผนการรักษา
Forceps Extraction delivery
การใช้คีมจับที่ศีรษะทารกให้กระชับและเหมาะสม เพื่อช่วยคลอดศีรษะทารกโดยไม่ทำให้เกิดการบาดเจ็บต่อผู้คลอดและทารก เป็นการใช้แทนแรงเบ่งของผู้คลอด
ข้อบ่งชี้
ด้านผู้คลอด
ไม่มีแรงเบ่งจากอาการอ่อนหล้า ได้รับยาบรรเทาอาการปวด หรือ
ได้รับการทำ Epidural block
มีภาวะแทรกซ้อนหากมีการเบ่งคลอด เช่น โรคหัวใจ PIH /
Chronic hypertension
Prolong 2nd stage of labor (ครรภ์แรกนาน > 2 ชม. , ครรภ์หลังนาน > 1 ชม.กรณีทำ Epidural block ครรภ์แรกนาน > 3 ชม. , ครรภ์หลังนาน > 2 ชม.)
ด้านทารก
Abnormal FHS
ศีรษะทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น occiput transverse ซึ่งต้องหมุนศีรษะทารกเป็นท่า occiput anterior เพื่อสะดวกในการคลอด
ใช้คลอดศีรษะทารกท่าก้น (after coming head)
ชนิดของคีม (ที่ใช้บ่อยในปัจจุบัน)
Simpson forceps
นิยมใช้มากที่สุด เนื่องจาก blade เป็นชนิดมีช่อง (fenestrated blade) ทำให้จับกับศีรษะทารกได้กระชับกว่า
cephalic curve ไม่มากนัก เหมาะกับศีรษะทารกที่มี molding
ไม่เหมาะสำหรับการหมุน เพราะจะทำให้เกิดการบาดเจ็บช่องคลอดได้มาก
Tucker-Mclean forceps
Pelvic curve มีไม่มากใช้ในการหมุนศีรษะทารกได้
ลักษณะ blade เป็นแผ่นตัน (solid blade) ทำให้มีแรงกดต่อศีรษะทารกน้อยกว่า
ลักษณะ cephalic curve มีมากกว่าเหมาะกับศีรษะทารกที่ กลม หรือไม่มี molding
มีลักษณะของ overlapping shank เพื่อลดการบาดเจ็บต่อช่องทางคลอดได้
Kielland forceps
น้ำหนักเบา และ pelvic curve น้อย เหมาะสำหรับการหมุนศีรษะทารก
มี sliding lock สามารถปรับแก้ asynclitism ได้ในระหว่างการดึง
ปัจจุบันไม่นิยมทำ เนื่องจากหากไม่มีความชำนาญหรือประสบการณ์อาจทำให้เกิดอันตราย
Piper forceps
ใช้คลอดศีรษะทารกที่เป็นท่าก้น
มีลักษณะพิเศษ คือ มี reverse pelvic curve และ parallel ยาวถึง 15 cms.
ชนิดของการช่วยคลอดด้วยคีม
Outlet forceps
เห็นหนังศีรษะทารกทางช่องคลอดโดยไม่ต้องแหวก labia
กะโหลกศีรษะทารกเคลื่อนลงมาถึง pelvic floor
Sagital suture อยู่ในแนวหน้าหลัง
ศีรษะทารกอยู่บน Perineum
การหมุนไม่เกิน 45 องศา
Low forceps
ส่วนต่ำสุดของศีรษะทารกอยู่ระดับ +2 หรือมากกว่า แต่ไม่ถึง pelvis floor
มีการหมุนศีรษะน้อยกว่า/มากกว่า 45 องศา
High forceps
ไม่นิยมใช้เนื่องจากอันตรายต่อทารกมาก
Mid Forceps
ใช้เมื่อศีรษะทารกเข้าสู่ช่องเชิงกราน (engagement) แล้ว และส่วนนำอยู่ระหว่างระดับ 0 ถึง +2
ข้อบ่งชี้การช่วยคลอดด้วยคีม
ทารกอยู่ในท่าศีรษะหรือท่าหน้าที่เป็น (chin anterior)
ช่วยคลอดศีรษะทารกท่าก้น (after coming head)
ศีรษะทารกลงสู่ช่องเชิงกราน รู้ตำแหน่งศีรษะแน่นอน
ไม่มีภาวะผิดสัดส่วนศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน (CPD) + เนื้องอกภายในอุ้งเชิงกราน
ปากมดลูกเปิดหมด (cervical fully dilate)
ภาวะแทรกซ้อนของการช่วยคลอดด้วยคีม
ผู้คลอด
การฉีกขาดช่องทางคลอด
อันตรายต่อกระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะ
การแยกของกระดูกหัวหน่าวและ sacroiliac joint ทำให้ปวดหัวหน่าวหรือหลังส่วนล่าง
การหย่อนของกล้ามเนื้อ ส่งผลให้เกิดมดลูกหย่อนได้
PPH
Infection จากการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ทารก
อันตรายต่อเส้นประสาทบริเวณหน้า เช่น facial palsy , Erb palsy
อันตรายต่อศีรษะทารก ทำให้กะโหลกแตกหรือเลือดออกในชั้นหนังศีรษะ (cephal hematoma)
อันตรายต่อสมองทารก เช่น เลือดออกในสมอง ภาวะ cerebral palsy
การพยาบาล
ขณะทำ
ดูแลความสุขสบาย โดยการเช็ดหน้าด้วยผ้าเย็น ให้ผู้คลอดพักขณะมดลุกคลายตัว เมื่อมดลูกหดรัดตัวกระตุ้นให้เบ่งพร้อมดึง
ฟัง FHS ทุก 5 นาที / On EFM/V/S
ให้ผู้คลอดหยุดเบ่งเมื่อศีรษะทารกมาตุงที่ฝีเย็บและแพทย์กำลังตัดฝีเย็บ หลงจากนั้นกระตุ้นเบ่งตามการหดรัดตัวของมดลูกจนศีรษะคลอดให้หยุดเบ่ง ทำการดูดน้ำคร่ำ เช็ดตา เหมือนการคลอดปกติ และทำคลอดไหล่และลำตัวตามลำดับ
กรณีช่วยคลอดด้วยคีมล้มเหลว เตรียมผู้คลอดและอุปกรณ์สำหรับผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องโดยทันที
หลังทำ
ระเมิน V/S , การหดรดตัวของมดลูก, กระเพาะปัสสาวะ และ การฉีกขาดของช่องทางคลอด เพื่อระวังการเกิดภาวะ PPH
แนะนำการสังเกตอาการและอาการแสดงของการตกเลือด และอาการปวดแผลฝีเย็บจากการเกิด hematoma
แนะนำการคลึงมดลูก ไม่กลั้นปัสสาวะ เพื่อป้องกันการตกเลือด
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกต่อ อย่างน้อย 2 ชั่วโมงหลังคลอด
ก่อนทำ
อธิบายให้ทราบเกี่ยวกับแผนการช่วยคลอด
จัดท่าผู้คลอดท่า Lithotomy
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยคลอด
Cesarean section
การผ่าตัดเพื่อคลอดทารกออกทางรอยผ่าที่หน้าท้อง (laparotomy) และรอยผ่าที่ผนังมดลูก (hystrotomy)
ข้อบ่งชี้
การคลอดติดขัด (mechanical dystocia)
การคลอดไม่ก้าวหน้า ( failure to progress in labor) เช่น ภาวะ CPD
รกเกาะต่ำ
ทารกมีภาวะ fetal destress
ภาวะสายสะดือพลัดต่ำ- มารดาที่เคยผ่าตัดคลอดครรภ์ก่อน
โรคแทรกซ้อนทางอายุรกรรม เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ครรภ์แฝดที่ทารกไม่อยู่ท่าศีรษะทั้งคู่
มีประวัติคลอดยาก
ติดเชื้อเริม ที่อวัยวะสืบพันธ์ ระยะใกล้คลอด
ข้อห้าม
ทารกตายในครรภ์ เว้น มีข้อบ่งชี้ทางมารดา เช่น ภาวะ PPH
ทารกพิการ ไม่สามารถรอดชีวิตได้หลังคลอด
ชนิดของการผ่าตัดคลอด
การลงมีดผ่าตัดที่ผนังหน้าท้องหรือผิวหนัง (skin incision)
การลงมีดผ่าตัดที่ผนังมดลูก (uterine incision)
ภาวะแทรกซ้อน
ด้านมารดา
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาระงับความรู้สึก
ด้านทารก
ขาดออกซิเจน
อันตรายจากการผ่าตัด
การพยาบาล
ขณะทำ
ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 5 – 15 นาที
สังเกตและบันทึกอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อน
จากการได้รับยาระงับความรู้สึก
ประเมินและบันทึกปริมาณปัสสาวะ ควรออก > 30 ซีซี/ชั่วโมง
หลังทารกคลอดครบดูให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกจามแผนการรักษา
หลังทำ
ประเมิน V/S ผู้คลอดทุก 15 นาที ใน 1 ชม.แรก ทุก 30 นาที ใน 1 ชั่วโมงที่สอง หลังจากนั้นประเมินทุก 1 ชม. จนอาการคงที่
รายที่ได้รับยาระงับความรู้สึกแบบ spinal block ให้นอนราบหลังผ่าตัดอย่างน้อย 8 – 12 ชั่วโมง เพื่อป้องกันอาการปวดศีรษะจากน้ำไขสันหลังรั่ว
ก่อนทำ
เตรียมด้านจิตใจ
Version
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายนอก (externalcephalic version)
ข้อบ่งชี้
อายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์
ครรภ์เดี่ยวที่ทารกอยู่ในท่าก้น/ท่าขวาง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์
ข้อห้าม
ครรภ์แฝด
สตรีมีครรภ์ที่อ้วนมาก
มีความผิดปกติของมดลูก / มีแผลผ่าตัดที่มดลูก
ทารกท่าก้น ที่ก้นเคลื่อนที่ลงสู่เชิงกรานแล้ว
Abnormal FHS- Uteroplacenta insufficiency
Macrosomia
Fetal anormoly
สตรีตั้งครรภ์มีภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม
สตรีมีครรภ์มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
ภาวะแทรกซ้อน
มดลูกแตก
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
เลือดทารกรั่วเข้าสู่เลือดมารดา
น้ำคร่ำอุดกลั้นเส้นเลือดในปอด
fetal distress- Fetal bradycardia
คลอดก่อนกำหนด
DFIU
การพยาบาล
ก่อนทำ
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์ทราบเกี่ยวกับแผนการรักษา
ประเมิน V/S ของสตรีและประเมิน FHS ก่อนทำการหมุนเปลี่ยนท่า
ดูแลให้ IV fluid และยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลการได้รับการ ultrasound เพื่อยืนยันท่าและส่วนนำทารก + NST เพื่อประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
ให้ NPO อย่างน้อย 8 ชม. ก่อนทำ
เตรียมอุปกรณ์ สถานที่ ให้สตรีถ่ายปัสสาวะให้เรียบร้อย และจัดท่านอนหงายราย
ขณะทำ
ประเมิน FHS ทารกและอาการเจ็บปวดขณะทำการหมุนเปลี่ยนท่าเป็นระยะๆ >> FHS > 120 ครั้ง/นาที หรือ สตรีมีอาการเจ็บปวดมากให้หยุดการหมุนเปลี่ยนท่าทันที
อยู่เป็นเพื่อสตรี เพื่อลดความกลัวและความกังวล
หลังทำ
ประเมิน FHS ต่อไปอีกอย่างน้อย 30 นาที
ดูแลให้ได้รับการตรวจ U/S เพื่อยืนยันว่าเป็นท่าศีรษะ
ตรวจ NST เพื่อประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์ หากเป็น NR >> ทำ CST ต่อ หากผลเป็น positive พิจารณายุติการตั้งครรภ์
ประเมิน V/S มารดาเป็นระยะๆ
ดูแลให้ได้รับ Rh immunoglobulin (anti-D immune globulin
ประเมินและให้คำแนะนำสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้น เช่น ถุงน้ำคร่ำแตก เลือดออกทางช่องคลอด มดลูกหดรัดตัวแรงขึ้น หรือทารกน้อยลง
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกจากภายใน (internal podalic version)
ข้อบ่งชี้
การคลอดแฝดคนที่สอง (ท่าขวางหรือท่าศีรษะ) มีปัญหาต้องคลอด่วน เช่น fetal distress สายสะดือย้อย หรือมีเลือดออกมาก
ทารกท่าขวางที่ปากมดลูกเปิดหมดแล้ว
ข้อห้าม
เคยผ่าตัดบริเวณมดลูก
ส่วนนำทารกเคลื่อนลงมาต่ำมาก
ตกเลือดก่อนคลอด หรือ มีภาวะรกเกาะต่ำ
มีอาการและอาการแสดงของภาวะมดลูกแตกคุกคาม
ภาวะแทรกซ้อน
การบาดเจ็บต่อทารก เช่น กระดูกหัก การคลอดติดศีรษะ
ช่องทางคลอดฉีกขาด
มดลูกแตก
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกเสียชีวิต
การพยาบาล
ขณะทำ
อยู่เป็นเพื่อน ให้กำลังใจ + ประเมิน FHS และอาการปวดเป็นระยะ
หลังทำ
ประเมิน FHS และ V/S ผู้คลอดเป็นระยะ ๆ
ดูแลช่วยเหลือการชวยคลอดท่าก้นต่อ เช่น การเตรียม piper forceps สำหรับช่วยคลอดศีรษะทารก พร้อมทั้งช่วยเหลือกรณีเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่น การคลอดติดศีรษะ
ประเมินภาวะแทรกซ้อนหรือการบาดเจ็บ เช่น ช่องทางคลอดฉีกขาด มดลูกแตก , รกลอกตัวก่อนกำหนด กระดูกทารกหัก การบาดเจ็บของศีรษะทารก หรือทารกเสียชีวิต
ก่อนทำ
เช่นเดียวกับการหมุนเปลี่ยนท่าภายนอก แต่ไม่ NPO
Breech assisting (การทำคลอดท่าก้น)
การคลอดทารกท่าก้น (Breech delivery) ต่างจากการคลอดท่าศีรษะ เนื่องจากต้องใช้ความเชียวชาญและความระมัดระวังสูง พบได้ร้อยละ 3 – 4 ของการคลอด
กลไกการคลอดก้น
1. Engagement
คือ ส่วนที่กว้างที่สุดของก้น bitrochanteric diameter เคลื่อนผ่าน pelvic inlet ลงมาในแนวเฉียงหรือแนวขวาง และสะโพกหน้าจะอยู่ต่ำกว่าสะโพกหลัง
2. Internal rotation
คือ การหมุนภายในช่องเชิงกรานจน bitrochanteric diameter เข้าสู่แนวหน้า – หลัง ของ Pelvic outlet หมุนเสร็จสะโพกหน้าจะมายันที่ใต้กระดูกหัวหน่าว
3. Lateral flexion
คือ ทารกมีการงอของลำตัว สะโพกหลังถูกดันให้คลอดออกมาตามด้วยสะโพกหน้า
4. External rotation
คือ ขณะสะโพกทารกคลอด ไหล่จะมีการ engagement ลงมาในแนวขวางของ pelvic inlet ทำให้เกิด external rotation ของสะโพกที่คลอดออกมา เพื่อหลังจะได้อยู่ตามแนวปกติ
กลไกการคลอดไหล่
1. Engagement
คือ ไหล่ทารกเคลื่อนสู่ช่องเชิงกราน โดย bisacromial diameter เคลื่อนเข้าสู่ pelvic Inlet ในแนวเฉียงหรือแนวขวางเช่นเดียวกับก้น
2. Internal rotation
ขณะไหล่เคลื่อนต่ำลงมาเรื่อยๆ จาก pelvic inlet ผ่าน mid pelvic ไหล่จะหมุนเอา bisacromial diameter เข้าสู่แนวหน้า – หลัง ของ pelvic outlet เมื่อหมุนเสร็จ ไหล่หน้าจะมาอยู่ใต้กระดูกหัวหน่าว
3. Delivery of the shoulders
ขณะไหล่หน้ายันอยู่ใต้กระดูกหัวหน่าว ไหล่หลังจะคลอดออกมา พร้อมกับมี lateral flexion ของลำตัวทารก จากนั้นไหล่หน้าจะคลอดออกมา
4. External rotation
เมื่อไหล่คลอด จะมีการหมุนภายนอกจน
กลไกการคลอดศีรษะ
1. Engagement
คือ ศีรษะทารกเคลื่อนเข้าสู่ช่องเชิงกรานโดย sagital suture จะเข้าสู่ pelvic inlet ในแนวเฉียงหรือแนวขวาง
2. Internal rotation
คือ ขณะศีรษะทารกเคลื่อนที่ลงมาเรื่อยๆ จาก pelvic inlet เข้าสู่ mid pelvic ส่วน occiput ของทารกจะหมุนมาอยู่ในแนว หน้า – หลัง ของ pelvic outlet และ occiput มายันใต้กระดูกหัวหน่าว
3. Delivery of head
เมื่อ occiput มายันใต้กระดูกหัวหน่าว มีการก้มของศีรษะทารก ทำให้ศีรษะคลอดผ่านออกมาทางช่องคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
ทารก
Fetal distress จากการคลอดติดขัด ล่าช้า
ข้อเคลื่อนหรือกระดูกหัก
การบาดเจ็บของอวัยวะภายในช่องท้อง
การบาดเจ็บต่อสมอง
เส้นประสาทที่แขนได้รับบาดเจ็บ
อัตราการตายของทารกเพิ่มขึ้นกว่าการคลอดปกติ 3 – 5 เท่า
ผู้คลอด
Laceration of perineal
Uterine rupture
Dystocia
PPH
Infection
อันตรายจากการได้รับยาดมสลบ
การพยาบาล
ก่อนทำ
อธิบายให้ผู้คลอดทราบเกี่ยวกับความจำเป็นและขั้นตอน
จัดท่าผู้คลอด Lithotomy
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอกและฝีเย็บด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
ปูผ้าสะอาดปราศจากเชื้อ + สวนปัสสาวะทิ้ง
เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยคลอดให้พร้อม ได้แก่ ผ้าปราศจากเชื้อสำหรับคล้องตัวทารก คีมชนิด piper forceps + อุปกรณ์สำหรับผ่าตัดคลอดฉุกเฉินกรณีช่วยคลอดท่าก้นล้มเหลว
อุปกรณ์ CPR ทารก + เครื่องช่วยหายใจ
ให้ IV fluid ตามแผนการรักษา
ขณะทำ
ประเมิน FHS ทุก 5 นาที / On EFM
อยู่เป็นเพื่อนให้กำลังใจ + รายงานความก้าวหน้าการคลอด
แนะนำผู้คลอดผ่อนคลายกล้ามเนื้อไม่เกร็ง
ประเมิน Contraction และกระตุ้นเบ่งเมื่อมดลูกหดรัดตัว
กระตุ้นเบ่งจนก้นคลอด + เตรียมผ้าสะอาดปราศจากเชื้อสำหรับจับตัวทารก
ประเมิน V/S เป็นระยะ
หลังทำ
ประเมิน V/S ,การหดรัดตัวของมดลูก, กระเพาะปัสสาวะ, การฉีกขาดของช่องทางคลอด เพื่อเฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ติดตามการตรวจร่างกายทารกว่ามีการบาดเจ็บจากการช่วยคลอดหรือไม่
ให้มารดาสังเกตเลือดที่ออกทางช่องคลอด อาการแสดงของการตกเลือด อาการปวดแผลฝีเย็บ
ไม่กลั้นปัสสาวะ
แนะนำการคลึงมดลูกแก่มารดา
แนะนำเรื่องการเปลี่ยนผ้าอนามัย การทำความสะอาดทุกครั้งหลังการขับถ่ายเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
Induction of labor (การชักนำการคลอด)
การทำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดโดยเทคนิคต่างๆ ในขณะที่ยังไม่มีการเจ็บครรภ์คลอดเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
ข้อบ่งชี้
Postterm pregnancy
Premature rupture of membrane
Preeclampsia, eclampsia
Gestational hypertension
Chorioamnionitis
Fetal demise
Abruption placenta
Maternal medical conditions : eg. Diabetes mellitus, renal disease, chronic pulmonary disease, chronic hypertension, antiphospholipid syndrome
Fetal compromise : eg. Severe fetal growth restriction, isoimunization, oligohydramnios
ข้อห้าม/ภาวะแทรกซ้อน
Vasa previa
Placenta previa
Transverse fetal lie
Umbilical cord prolapse- Previous classical cesarean delivery
Previous myomectomy entering the endometrial cavity
Active genital herpes infection
วิธีการชักนำการคลอด
การใช้ Oxytocin
Amnitomy
Membrane stripping/sweeping
Breast stimulation
การใช้ prostaglandin
การชักนำการคลอดต้องมีการประเมินความพร้อมของปากมดลูก เพราะสามารถนำมาใช้ทำนายความสำเร็จของการชักนำการคลอดได้ โดยใช้ Bishop score
คะแนนเต็ม 13 คะแนน หากได้ 9 คะแนนขึ้นไปโอกาสในการชักนำการคลอดจะสำเร็จมากขึ้น
ในรายที่คะแนนน้อยกว่า 4 คะแนน ถือว่าปากมดลูกไม่มีความพร้อมในการชักนำการคลอด
การพยาบาล
เตรียมยาให้ถูกต้องตามแผนการรักษา
ให้ยาแก้ผู้คลอด โดยพิจารณาจากการหดรัดตัวของผู้คลอด
ประเมิน Contraction หลังได้รับยา 15 นาที ต่อไปทุก 30 นาที และทุกครั้งก่อน/หลังการปรับหยด 2 – 3 นาที
ปรับเพิ่มหยดทุก 15 – 30 นาที โดยเพิ่มครั้งละ 1 – 2 มิลลิยูนิต/นาที (Duration = 40 – 60 นาที, Interval = 2 – 3 นาที)
ดูแลใกล้ชิด หากได้รับยาเกิน 24 ชม. ให้สังเกต Bandl’s ring ความดันโลหิตต่ำ ภาวะสารน้ำเป็นพิษ คลื่นไส้อาเจียน กระสับกระส่าย
ระยะหลังคลอด ดูแลการได้รับยาต่อเนื่องอย่างน้อย 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกัน PPH
นางสาวอมรรัตน์ ฟ้าแลบ ชั้นปีที่ 3 เลขที่ 89