Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
น้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด ( amniotic fliud embolism/AFE ) - Coggle…
น้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
( amniotic fliud embolism/AFE )
ภาวะที่มีน้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา ซึ่งจะเข้าไปในหลอดลมฝอยในปอด แล้วไปอุดกั้นบริเวณหลอดเลือดดำที่ปอด
ปัจจัยส่งเสริม
การผ่าตัดทางหน้าท้อง
มารดามีบุตรหลายคนมารดาอายุมากกว่า 35 ปี
มดลูกแตกการบาดเจ็บในช่องท้อง
น้ำครำ่มีขี้เทาปน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
รกเกาะต่ำ
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การคลอดเฉียบพลัน
การตรวจวินิจฉัยน้ำครำ่ก่อนคลอด
ทารกตายในครรภ์
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในครรภ์และนอกครรภ์
การเร่งคลอด โดยใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการและอาการแสดง
เหงื่อออกมาก
คลื่นไส้ อาเจียน
หนาวสั่น
หายใจลำบาก
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
ชัก
หมดสติ และเสียชีวิต
การวินิจฉัย
จากอาการและอาการแสดง
เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง
เลือดออก
อาการเขียว
ไม่รู้สติ
ระบบหายใจล้มเหลว
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การตรวจหาเซลล์ผิวหนัง ขนอ่อน
เลือดจากกระแสเลือดไปปอดของมารดา
เสมหะ
การชันสูตรศพ
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจหา sialy 1TH antigen
ตรวจการไหลเวียนของเลือดในปอด
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
มารดาเสียชีวิตจากการเสียเลือด
ทารกที่รอดชีวิตจะมีภาวะบกพร่องทางระบบประสาท
การป้องกัน
การกระตุ้นการเจ็บครรภ์ ดูอาการหดรัดตัวมดลูกอย่างใกล้ชิด
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยวิธีเลาะแยกเยื่อถุงน้ำคร่ำจากคอมดลูก
เจาะถุงน้ำครำ่อย่างระมัดระวัง ไม่ให้ถูกปากมดลูก
ในรายที่รกเกาะต่ำ การตรวจภายในควรจะกระทำอย่างระมัดระวัง
ขณะเจ็บครรภ์คลอด ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
ถ้าผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มาก รายงานแพทย์ทราบทุกครั้ง
การรักษา
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก โดยให้ยา oxytocin หรือ methergin ทางหลอดเลือดดำ
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารก
ดูแลระบบการไหลเวียนเลือด
เตรียมยาในการช่วยชีวิตผู้คลอดถ้ามีความดันโลหิดต่ำ เช่น Dopamine
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
เจาะเลือดเพื่อประเมินความเข็มข้นของเลือดและการแข็งตัวของเลือด
รักษาภาวะแข็งตัวของเลือดผิดปกติ โดยให้ยา Heparin
การพยาบาล
มีภาวะชักเกร็ง มีภาวะเขียวทั้งตัว ให้ปฎิบัติดังนี่
2 .ให้ออกซิเจน
3ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา
1 จัดให้มารดานอนในท่า fowler
4 เฝ้าระวังการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
5 สังเกตุการหดรัดตัวของมดลูก
6 เตรียมช่วยเหลือการคลอดโดยใช้คีมหรือผ่าตัดทางหน้าท้อง
เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อการตกเลือดและเกิดภาวะช็อค เนื่องจากการขาดกลไกการแข็งตัวของเลือดและมดลูกไม่หดรัดตัว
เกิดภาวะขาดออกซิเจนทั้งมารดาและทารก เนื่องจากการหดรัดเกร็งของหลอดเลือดที่ปอดมารดา