Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและการช่วยเหลือมารดา และทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมื…
บทที่ 3 การเตรียมและการช่วยเหลือมารดา และทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Electronic Fetal monitoring
การตรวจ Electronic fetal heart rate monitoring
Contraction stress test (CST)
Suspicious
มี late deceleration เป็นครั้งคราว
base line variability อาจปกติหรือลดลง
ถ้าไม่มีการเพิ่มของอัตราการเต้นของหัวใจเมื่อทารกดิ้น ควรทำซ้ำใน 24 ชั่วโมง
Hyperstimulation
มดลูกมีการหดรัดตัวมากกว่าปกติ หรือหดรัดตัวแรงมาก
Positive
มี late deceleration ทุกครั้งในระยะช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูก
base line variability มักจะลดลงกว่าปกติ
อัตราการเต้นของหัวใจไม่เพิ่ม เมื่อทารกดิ้น
Negative
ไม่มี late deceleration
base line variability ปกติ
อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้นหลังทารกดิ้นหรือมดลูกหดรัดตัว
Unsatisfactory
ไม่สามารถแปลผลเนื่องจากกราฟที่บันทึกไม่สามารถอ่านได้
Non Stress test (NST)
การแปลผล
Uninterpretable
คุณภาพการทดสอบไม่สามารถแปลผลได้
Suspicious
การเพิ่มของอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 2 ครั้ง
Non-reactive
การเพิ่มขึ้นของ FHR ไม่เป็นไปตามเกณฑ์
Reactive
อัตราการเต้นของหัวใจ 110-160 ครั้ง/นาที
อัตราการเต้นของหัวใจทารกเพิ่มจาก baseline
Biophysical Assessment
การฉายรังสีเอ๊กซเรย์ (Radiography)
ข้อบ่งชี้ในตรวจ
ดูขนาดของทารก การเจริญเติบโตของทารก
ตำแหน่งของรก
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (Ultrasound)
ข้อบ่งใช้
วินิจฉัยอายุครรภ์
ติดตามการเจริญเติบโตของทารก
การตรวจวินิจฉัยความพิการแต่กำเนิดของทารก
การวินิจฉัยครรภ์แฝด
การตรวจวินิจฉัยสาเหตุการมีเลือดออกทางช่องคลอด
การวินิจฉัยเนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
ใช้ศึกษาหลอดเลือดหลักของทารกเพื่อติดตามการเจริญเติบโต
การตรวจตำแหน่งความผิดปกติและภาพของรก
การตรวจ Biophysical profile (BPP)
ข้อบ่งชี้ในตรวจ
หญิงตั้งครรภ์ที่มีความเสี่ยงสูง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน
ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
การนับจำนวนการดิ้นของทารกในครรภ์ (Fetal movement count: FMC)
Biochemical Assessmentt
การเจาะน้ำคร่ำส่งตรวจ (Amniocentesis)
ข้อบ่งชี้
การตรวจหาความผิดปกติทางโครโมโซม เช่น Down’s syndrome
การค้นหาโรคที่ถ่ายทอดพันธุกรรม เช่น โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
การนำน้ำคร่ำมาวิเคราะห์ DNA
ตรวจหาความสมบูรณ์ของปอด
วิธีการเจาะน้ำคร่ำส่งตรวจ
1.ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง ตรวจสอบการมีชีวิตของทารก
2.เตรียมหน้าท้องบริเวณที่เจาะของหญิงตั้งครรภ์ ด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อ
3.ใช้เข็มเจาะสันหลัง (Spinal needle) ขนาดเบอร์ 21 -22 มีความยาวประมาณ 3.5 นิ้ว เจาะผ่านผนังหน้าท้อง
4.แทงเข็มเข้าไปในถุงน้ำคร่ำ (amniotic cavity) โดยใช้ ultrasound-guided
5.ภายหลังการเจาะใช้ปลาสเตอร์ปิดบริเวณที่เจาะและแกะออกในวันรุ่งขึ้น
วิธีที่นิยมทำ 3 วิธี
จากการดูสีของน้ำคร่ำ มีเลือดปนใสหรือขุ่น
Shake test
ถ้าพบว่ามีฟองอากาศเกิดขึ้น 3 หลอดแรก ปอดของทารกเจริญเต็มที่
ถ้าพบว่ามีฟองอากาศเกิดขึ้น 2 หลอดแรก ปอดทารกยังเจริญไม่เต็มที่
ถ้าพบว่ามีฟองอากาศเกิดขึ้นเพียงหลอดเดียวหรือไม่พบเลย ปอดทารกยังเจริญไม่เต็มที่
L/S Ratio
อายุครรภ์ 26 – 34 สัปดาห์ ค่า L/S = 1 : 1
อายุครรภ์ 34 – 36 สัปดาห์ ค่า L ค่า 2 : 1
ใน 26 สัปดาห์แรกของการตั้งครรภ์ ค่า S > L
การตรวจหาระดับ estriol
1.การตรวจหาระดับ estriol ในปัสสาวะ
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ
สตรีที่มีเบาหวานขณะตั้งครรภ์
สตรีที่เป็นความดันโลหิตสูง
อายุครรภ์เกินกำหนด
มีประวัติทางสูติกรรมไม่ดี
การตรวจหาระดับ estriol ใน plasma
การตรวจหาค่า unconjugated estriol ใน plasma ซึ่งค่านี้จะมีความสัมพันธ์กับค่า estriol ในปัสสาวะ
MSAFP
เป็นการตรวจเลือดของมารดาเพื่อประเมินความพิการแต่กำเนิดและความผิดปกติทางโครโมโซมของทารก
ระยะเวลาที่เหมาะสมในการตรวจ คือ อายุครรภ์ 16 – 18 สัปดาห์
การเก็บเนื้อรกส่งตรวจ (Chorionic Villi Sampling: CVS)
ช่วงระยะเวลาที่เหมาะสม
ระหว่างอายุครรภ์ 8 – 11 สัปดาห์
ข้อบ่งชี้ในการทำ
-มารดาตั้งครรภ์ที่มีอายุมาก
การตรวจวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย
การตรวจดูความผิดปกติของฮีโมโกลบินในทารกก่อนคลอด
การเจาะเลือดจากสายสะดือทารก Fetal blood sampling: FBS
ข้อบ่งชี้ในการตรวจ
การประเมินทารกในครรภ์
การวินิจฉัยโรคทารกก่อนคลอด