Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormality of passage, นางสาว สุพัตรา ขุนหีบ เลขที่67 รหัส601401070 -…
Abnormality of passage
ความผิดปกติของช่องเชิงกรานแท้
การพยาบาล
1 ประเมินมารดาเกี ยวกับสัญญาณชีพ สภาพร่างกายของมารดา ความสูงยอดมดลูก การหดรัดตัวของมดลูก สภาพจิตใจของมารดา ประวัติการคลอดในครรภ์ก่อนและลักษณะช่องเชิง กราน
2 ประเมินทารกเกี ยวกับขนาด ส่วนนํา การเข้าสู่ช่องเชิงกรานและท่าของทารก
3 ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดการเปิดขยาย ของปากมดลูก
4 ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดและบันทึกข้อ มูลอย่างถูกต้อ
สาเหต
1 การเจริญเติบโตผิดปกติมาตังแต่กําเนิด
2 พิการมาตังแต่กําเนิดซึ งมักเกิดร่วมกับความพิการของกระดูกสันหลังหรือขา
3 ส่วนสูงน้อยกว่า 140 เซนติเมตร
4 ขาดฮอร์โมนเพศหญิง
5 เชิงกานยังไม่เจริญเต็มที (อายุน้อยกว่า 18 ป)
6 เชิงการยืดขยายลําบาก(อายุมากกว่า 35 ป)
7 เปนโรคกระดูกเนืองอกหรือวัณโรคกระดูก
8 อุบัติเหตุที ทําให้เชิงกรานหักแตกหรือเคลื อน
ชนิด
เชิงกรานแคบ(pelvic contraction)
1.1 เชิงกรานแคบที ช่องเข้า
ผลกระทบต่อผู้คลอดและทารก
1 สวนนาที กดช่องทางคลอดเปนเวลานานส่งผลให้ขาดเลือดมาเลียงเกิดเปนเนือตาย
2 ถุงนาแตกก่อนกําหนดหรือแตกในระยะต้นๆของการเจ็บครรภ์
3 มดลูกแตก
4 ผู้คลอดเหนื อยอ่อนเพลีย ขาดนาเลือดเปนกรดเกิดความกลัววิตกกังวลจากการเจ็บครรภ์ยาวนาน
5 ทารกในครรภ์เกิดภาวะ fetal distress เนื องจากการคลอดยาวนาน
ผลกระทบต่อการดำเนินการคลอด
1 ทารกผ่านช่องเชิงกรานได้ยากหรือไม่ได้เลย
2 ปากมดลูกเปดขยายล่าช้า
3 ทารกมักมีส่วนนําผิดปกติเช่นท่าหน้า ท่าก้น ท่าไหล่
การวินิจฉัย
1 ซักประวัติเกี ยวกับประวัติการคลอดในครรภ์ก่อน
2 ตรวจร่างกาย วัดส่วนสูง สังเกตท่าทางการเดิน ตรวจหน้าท้อง
3 การตรวจช่องเชิงกรานโดยการตรวจภายในประเมินเส้นผ่านศูนย์กลางช่องเข้าตามแนวหน้า-หลังและประเมินเส้นผ่าศูนย์กลางช่องขวาง
4 ตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยตรวจUltrasound ศีรษะทารกในครรภ์
1.2 เชิงกรานแคบที ช่องภายใน
การวินิจฉัย
1 การซักประวัติ เกี ยวกับอุบัติเหตุหรือความพิการ ที เชิงกรานตังแต่กําเนิด
2 การตรวจร่างกายวัด ส่วนสูงมักพบสูงน้อยกว่า 140 cm ดูท่าทางการเดิน
3 การตรวจช่องเชิงกรานโดยการตรวจภายในประเมินช่องภายในโดยการวัดระยะระหว่างปุม Ischial spine ทังสองข้างต้องไม่แคบกว่า 9.5 cm
4 ตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยตรวจUltrasound
ผลต่อการดําเนินการคลอด
1 ศีรษะทารกเคลื อนตาช้าหรือเคลื อนตาผ่านปุม ischial spine ไม่ได้เลย
2 การหมุนภายในของศีรษะทารกถูกขัดขวางทําให้ท้ายทอยทารกหยุดชะงักอยู่ด้านข้าง
3 การหดตัวของมดลูกไม่มีประสิทธิภาพ
ผลกระทบต่อมารดาและทารก คล้ายกับของเชิงกรานแคบที ช้องเข้า
1.3 เชิงการแคบที ช่องออก
ผลกระทบ
1 การคลอดศีรษะยาก
2 การคลอดไหล่ยาก
3 ฝเย็บฉีกขาดและยืดขยายมาก
4 ผู้คลอดอาจถูกทําสูติศาสตร์หัตถการในรายที ศีรษะติดอยู่นาน ท่าก้นหรือทารกอยู่ในภาวะคับขัน
การวินิจฉัย
1 การซักประวัติเกี ยวกับประวัติการคลอด
2 ตรวจร่างกายวัดส่วนสูงสังเกตการเดิน
3 การตรวจช่องเชิงกราน ตรวจภายนอก มุมใต้กระดูกหัวหน้า ดูเส้นผ่านศูนย์กลางตามแนวขวาง เส้นผ่านศูนย์กลางแนวหน้าหลัง เส้นผ่านศูนย์กลาง posterior sagital ผลรวมของเส้นผ่านศูนย์กลาง ต้องได้มากกว่า 15 cm และการตรวจภายในโดยการวัดระยะระหว่าง ischial tuberosity ต้องไม่น้อยกว่า 8 cm
4 ตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยตรวจUltrasound
1.4 เชิงกรานแคบทุกส่วน
ผลกระทบ
มีผลต่อทุกระยะของการคลอด ส่วนนําทารกลงสู่ช่องเชิงกรานไม่ได้
เชิงกรานแตกหรือหัก (pelvic fracture)
ผลกระทบ
จะมีกระดูกใหม่งอกและหนาตัวขึนหรืออาจต่อกันไ ม่เข้ารูปเดิม ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ต้องผ่าตัดคลอด ทางหน้าท้อง
เชิงกรานรูปร่างผิดปกติ ผิดสัดส่วนหรือพิการ(pelvic abnormalities)
ผลกระทบ
ทําให้ผู้คลอดไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ต้ องผ่าคลอดทางหน้าท้อง
ความผิดปกติของช่องเชิงกรานส่วนที เปนกล้ามเนือและเอ็น
1 ปากช่องคลอดและฝเย็บผิดปกติ มีการตีบตัน แข็งไม่ยืดหยุ่น มีเลือดคั ง
2 ช่องคลอดผิดปกติมีการตีบแข็งมาตังแต่กําเนิดหรือภายหลัง
3 ปากมดลูกผิดปกติมีการตีบแข็ง เคยมีการฉีกขาดมีการผ่าตัดปากมดลูกมาก่อนทําให้ มดลูกเปดใช้ไม่ได้
4 ปากมดลูกบวมจากส่วนนําเคลื อนตาลงมากดทับปากมดลูก
5 มะเร็งปากมดลูกทําให้ปากมดลูกเปดขยายช้า
6 หมดลูกอยู่ผิดที มดลูกควาหน้าและ มดลูกควาหลัง
7 เนื้องอก
การดูแลรักษา
1 ในรายที มีความผิดปกติของปากช่องคลอด ถ้าปากช่องคลอดตีบควรตัดฝเย็บช่วยคลอด ฝเย็บแข็งตึงควรตัดฝเย็บให้กว้างพอเพื อปองกันการฉีกขาด ถ้าปากช่องคลอดบวมควรผ่าตัดระบายเลือดออกแล้วให้ยา ปองกันการติดเชือ
2 ในรายที มีความผิดปกติของช่องคลอด ถ้ามีผนังกันในช่องคลอดมากต้องทําการผ่าตัดค ลอดทางหน้าท้อง ถ้ามีถุงนาหรือเนืองอกควรเจาะเอาถุงนาออกเพื อช่วยให้คลอดได้ง่าย
3 ในรายที มีความผิดปกติของปากมดลูกถ้าปากมดลูกตีบอาจต้องทําก ารผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ถ้าปากมดลูกแข็งใช้นิวมือใส่เข้าไปในรูปากมดลูกช่วยขยายโดยรอบ จะทําให้ปากมดลูกขยายขึนถ้าปากมดลูกด้านหน้าบวม ให้ผู้คลอดนอนตะแคงยกปลายเตียงให้สูงขึน ถ้าผู้คลอดเปนมะเร็งปากมดลูกต้องผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
4 รายที มีความผิดปกติของมดลูก ถ้ามดลูกควาหน้าให้ใช้ผ้ารัดหน้าท้องเพื อประคองให้มดลูกอยู่ในตําแหน่งปกติ ถ้ามดลูกควาหลังจะคลอดทางช่องคลอดไม่ได้ ถ้ามีเนืองอกของมดลูกจะทําให้แท้งก่อนกําหนดควรผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
5 ในรายที มีความผิดปกติของรังไข่ต้องทําการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน : CPD
ความหมาย
ภาวะที ศรีษะทารกมีขนาดใหญ่มากไม่สามาร ถผ่านทางช่องคลอดได้
ชนิด
True disproportion ทารกมีศีรษะเปนส่วนนําแต่ไม่สามารถคลอดออกมาได้
Relative disproportion ทารกมีส่วนนํา ทรงและท่าที ผิดปกติ
สาเหตุ
มักเกิดจากความผิดปกติของช่องเชิงกราน หรือความผิดปกติของทารก ทารกตัวใหญ่ ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ผลกระทบ
1 การคลอดยาก คลอดยาวนาน คลอดหยุดชะงักหรือติดขัดต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด
2 ผู้คลอดเหนื อยอ่อนเพลียขาดนาจากการเจ็บครรภ์ยาวนาน
3 มดลูกแตก จากแรงดันในโพรงมดลูกที เพิ่มขึน
4 ภาวะสายสะดือพลัดตา
5 ช่องทางคลอดฉีกขาด
6 ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
7 ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
การวินิจฉัย
1 ซักประวัติเกี ยวกับประวัติการคลอด
2 การตรวจร่างกายวัดส่วนสูงดูท่าทางการเดิน
3 ตรวจหน้าท้องประเมินความสูงของยอดมดลูกเส้นรอบท้อง ส่วนนําการเข้าสู่ช่องเชิงกรานท่าและทรงของทารกในครร ภ์
4 การตรวจช่องเชิงกรานประเมินลักษณะช่องเชิงกรานโดยการต รวจภายนอกและการตรวจภายใน
5 ตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยตรวจUltrasound ศีรษะทารกในครรภ์
นางสาว สุพัตรา ขุนหีบ เลขที่67 รหัส601401070