Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติข…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
การดูแลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
ประเด็นเกี่ยวกับการหายใจ
4.เลือดไหลทางลัด (Shunt effect)
ความไม่สมดุลของอัตราส่วนการระบายอากาศกับการไหลเวียนเลือดVentilation/perfusion mismatch
1.การระบายอากาศไม่เพียงพอ (Alveolar hypoventilation)
การบกพร่องในการซึมผ่าน(Diffusion defect or impairment)
ปัญหาทางเดินหายใจ
การติดเชื้อ
Pharyngitis
Bronchitis
Tonsillitis
การจำกัดการขยาย
Empyema
Pleural effusion
Pneumothorax
การอุดกั้น
Asthma
Cancer
COPD
การบาดเจ็บ
Flail chest
Fx rib
การประเมินสภาพระบบหายใจ
3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การแปลผล
2.ดูที่ค่า PaCO2 ค่าปกติ PaCO2 อยู่ในช่วง 35-45 mmHg ถ้า
PaCO2<35 mmHg เรียกว่า alveolar hyperventilation PaCO2>45mmHg เรียกว่า alveolar hypoventilation
3. ดูที่ค่า PaO2 ค่าปกติของ PaO2 อยู่ในช่วง 80-100 mmHg
1.ดูที่ค่า pH ค่า pH ปกติ คือ 7.35 -7.45
ถ้า
pH < 7.35 เรียกว่า acidosis
pH > 7.45 เรียกว่า alkalosis
4. ดูที่ค่าHCO3และ base excess (BE) HCO3 22-26 mEq/L ค่า BE + 2.5 mEq/L
5. ดูที่ค่า oxygen saturation ค่าปกติ 97-100%
การตรวจ CBC
การตรวจอิเลคโตรลัยท์
Arterial Blood Gas
pH ภาวะความเป็นกรดด่าง
PO2 Partial pressure of oxygen in blood
PCO2 Partial pressure of carbon dioxide in blood
HCO3- ความเข้มข้นของไบคาร์บอเนตในพลาสมา
BE ปริมาณ Base excess ในร่างกาย
SO2 ระดับความอิ่มตัวของฮีโมโกลบินในเลือด
CO2 ปริมาณ CO2 ที่ละลายอยู่ในพลาสมา
การทดสอบผิวหนัง
การวัด oxygen saturation (SpO2)
1.การซักประวัติ
2. การตรวจร่างกาย
การตรวจพิเศษ
Lung function test
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
bronchoscopy
ปัญหาเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนก๊าซ
Respiratory Acidosis
ลักษณะ
PaCO2 > 45 mmHg
การหายใจการแลกเปลี่ยนก๊าซในปอดลดลง หายใจออกลดลง
ได้รับยา ประเภท narcotic, barbiturate เกินขนาด และก้านสมองได้รับบาดเจ็บ กดศูนย์ควบคุมการหายใจ
อัมพาตของกล้ามเนื้อช่วยหายใจ
Respiratory failure, airway obstruction, chest injury
Hypoventilation
การรักษา
1.ขจัดสาเหตุ
2.ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
3.ให้การรักษาตามโรค เช่น ให้ยาปฏิชีวนะในโรคปอดอักเสบ ยาขยายหลอดลม และ สเตียรอยด์ในโรคหอบหืด
4.ให้โซเดียมไบคาร์บอเนต
อาการ
ซึม
เวียนศีรษะ
หายใจลำบาก
หมดสติ
หายใจลดลง
Respiratory Alkalosis
ลักษณะ
Hyperventilation
PaCO2 < 35 mmHg
การหายใจเร็ว ภาวะหอบหืด ปอดอักเสบ ไข้สูง วิตกกังวล
เนื้องอกในสมอง สมองได้รับบาดเจ็บ ทำให้ศูนย์ควบคุมการหายใจทำงานผิดปกติ
การตั้งเครื่องช่วยหายใจไม่เหมาะสม
การรักษา
ปรับลด Tidal volume , RR
ให้ยาแก้ปวด
Hyperventilation syndrome ให้ผู้ป่วยหายใจในถุงกระดาษ
ให้ Sedative drug
อาการ
ซึม
สับสน
หายใจเร็วลึก
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
ชัก
หมดสติ
ปัญหาเกี่ยวกับการเผาผลาญ(Metabolism)
Metabolic Alkalosis
อาการ
ชัก (Ca ต่ำ)
คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ (K ต่ำ)
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ไวต่อการกระตุ้น
สับสน
ลำไส้ไม่ทำงาน
ลักษณะ
อาเจียนรุนแรง, ใส่ gastric suction เป็นเวลานาน
ได้รับยาขับปัสสาวะมาก
ท้องผูกหลายวัน มีการดูดซึมกลับของ HCO3-
HCO3 สูงขึ้น > 26 mEq
การรักษา
ให้ Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ
Metabolic Acidosis
อาการ
ปวดศีรษะ
สับสน
อาเจียนท้องเดิน
หายใจหอบลึก
เป็นตะคริวที่ท้อง
ชาปลายมือ ปลายเท้า
การรักษา
ให้ โซเดียมไบคาร์บอเนต
Hemodialysis
ลักษณะ
ได้รับอาหารไม่พอ, รับประทานอาหารไม่ได้
ท้องร่วงรุนแรง
ไตวาย
เบาหวานที่ขาดอินซูลิน
กรดแลคติกคั่ง จากออกกำลังกายหักโหม
The Severity of Hypoxemia
Moderate
: PaO2 = 40 – 60 mmHg
Severe
PaO2 < 40 mmHg
Mild
: PaO2 = 60 – 80 mmHg
Normal
PaO2 = 80 – 100 mmHg
ภาวะหายใจล้มเหลว (Respiratory Failure)
Caused
Decreased Fi O2
Hypoventilation
V/Q mismatch
Diffusion defect
ชนิด
ชนิดของการหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
ชนิดที่ 1 Oxygenation failure : Lung Failure
hypoxemia
PaO2≤ 60mmHg
ชนิดที่ 2 Ventilatory failure : Pump Failure
hypercapnia
PaO2 ≤ 45
pH<7.35
แบ่งตามระยะเวลาที่เกิดปัญหา
การหายใจล้มเหลวอย่างเฉียบพลัน
การหายใจล้มเหลวอย่างเรื้อรัง
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด
ระบบประสาท
ระยะแรกมีอาการกระสับกระส่าย สับสน การรับรู้ลดลง ระยะรุนแรง ซึม หมดสติ รูม่านตาขยายไม่ตอบสนองต่อแสง กล้ามเนื้อกระตุก ชักทั้งตัวได้
ระบบหายใจ
หายใจเร็ว หอบเหนื่อย ถ้ารุนแรงมากอาจเกิด Cheyne –Stokes breathing หรือ apnea
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การเต้นของหัวใจเร็วขึ้น เมื่อรุนแรงหัวใจจะบีบตัวลดลง เกิด arrhythmia ความดันโลหิตลดลง สร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น เลือดหนืดมากขึ้น หัวใจซีกขวาล้มเหลวเฉียบพลัน
ระบบผิวหนัง
ระยะแรกจะมีเหงื่อออก ตัวเย็นระยะขาดรุนแรง จะมีอาการตัวเขียว เมื่อ PO2<40mmHgหรือ O2 Sat <70% บริเวณเยื่อบุปาก ลิ้น ปลายมือปลายเท้า
อาการแสดงของภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
ระบบหลอดเลือด
CO2 ทำให้ arteriolar dilatation ผิวหนังหนา แดง และอุ่น ชีพจรเต้นแรง ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดในสมองขยายทำให้ปวดศีรษะมากเวลากลางคืน
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หลอดเลือดส่วนปลายขยายตัว กดการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ เกิด arrhythmia ความดันโลหิตลดลงและมีอาการเขียว
ระบบประสาทส่วนกลาง
ระยะแรก
กระตุ้น Central chemoreceptor ทำให้เพิ่มการหายใจ ถ้าคั่งน้อยจะมีอารมณ์ดี มักจะตื่นกลางคืน มีสับสนและง่วงนอนในตอนกลางวัน
ระยะที่คั่งมาก
จะกดการหายใจ เริ่มซึมง่วงนอน สับสน ไม่มีสมาธิ ถ้าCO2 สูงขึ้นจนถึง 3 เท่าของระดับปกติ อาจ Coma โดยรูม่านตาหดเล็ก reflex ลด
อื่นๆ
มีอาการสั่น กล้ามเนื้อกระตุก อาจตรวจพบ flapping tremor เหงื่อออกมากในเวลากลางคืน หลังอาหารหรือหลังจากออกกำลังกาย
โรคที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
โรคหืด (Asthma)
ลักษณะ
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลมมีผลทำให้หลอดลมผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้หรือสิ่งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการ
สารระคายเคือง
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
สารก่อภูมิแพ้
การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น
สาเหตุอื่น ๆ เช่น การออกกำลังกาย ความชื้น ความเย็น
การวินิจฉัย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis และ dermatitis
มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
เกิดอาการหลังออกกำลังกาย
การควบคุมโรคหืด
1.การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้ใกล้ชิด
2.แนะนำวิธีการหลีกเลี่ยงหรือขจัดสิ่งที่แพ้และอาการหอบหืดอย่างเป็นรูปธรรม คือสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้ รวมทั้งการปฏิบัติตัว
แนะนำการฝึกหายใจแบบ Purse lip
ควรพกยาบรรเทาอาการติดตัวเป็นประจำ
ควรดื่มน้ำอุ่นมาก ๆ พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ทุกครั้งที่สูดยาสตีรอยด์ ควรบ้วนปากด้วยน้ำสะอาดทันที
ไม่ควรซื้อยาชุดหรือยาลูกกลอนทานเอง และห้ามหยุดยาทันที
ป้องกันไม่ให้เป็นหวัด ควรฉีดวัคซีนป้องกัน
ประเมินระดับความรุนแรงและการประเมินผลการควบคุม โรคหืดระดับความรุนแรงของการควบคุมโรค
4.การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
5.การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดกำเริบเฉียบพลัน
การจัดระบบให้มีการดูแลรักษาต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ
Asthma medications
Controllers
Relievers
ตรวจ Asthma Control Test (ACT)(Thai version)
โรคปอดอุดกั้นทางเดินหายใจเรื้อรัง
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยด้านผู้ป่วย
เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม
ปัจจัยด้านสภาวะแวดล้อม
มีความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ควันสูบบุหรี่ ควันไฟการติดเชื้อของปอดและทางเดินหายใจเรื้อรัง
อาจเกิดจาก
1.โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง (chronic bronchitis)
โรคถุงลมโป่งพอง (pulmonary emphysema)
การวินิจฉัย
1.ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ
ทรวงอกขยายแบบถังเบียร์ และการหายใจเร็ว ไอมีเสมหะเรื้อรัง เล็บนิ้วและมือเขียว นิ้วปุ้ม เม็ดเลือดแดงเพิ่ม
ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด พบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ
การตรวจวิเคราะห์กาซในเลือดแดง พบค่า PaCO2 สูงขึ้น
มีเสมหะในหลอดลม
6.ถุงลมโป่งบางส่วน และแฟบบางส่วน
7.การขยายของทรวงอก
8.มีการทำลายเนื้อปอด
ระดับความรุนแรงของการอุดกั้นหลอดลม
GOLD 2
Moderate 50% ≤ FEV1< 80%predicted
GOLD 3
Severe 30% ≤ FEV1< 50% predicted
GOLD 1
Mild FEV1 ≥ 80% predicted
GOLD 4
Very severe FEV1< 30%predicted
ประเมินความเสี่ยงของการกำเริบอาการหอบเหนื่อย
Modified Medical Research Council Dyspnea Score (mMRC)
ระดับ 0
คือ ปกติไม่มีเหนื่อยง่าย
ระดับ 1
คือ มีอาการเหนื่อยง่าย เมื่อเดินเร็ว ๆ ขึ้นทางชัน
ระดับ 3
คือ เดินได้น้อยกว่า 100 เมตร
ระดับ 4
คือ เหนื่อยง่ายเวลาทํากิจวัตรประจําวัน เช่น ใส่เสื้อผ้า อาบน้ำ แต่งตัว จนไม่สามารถออกนอกบ้านได้
ระดับ 2
คือ เดินในพื้นราบไม่ทันเพื่อนที่อยู่ในวัยเดียวกัน เพราะเหนื่อยหรือต้องหยุดเดินเป็นพักๆ
เป้าหมายของการรักษา
1.บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด
2.ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค
3.ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น
แนวทางการรักษาระยะที่โรคสงบ
1. การรักษาทางยา
Methylxanthine
Corticosteroid
bronchodilator
2.การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
-แบบแอโรบิค ฝึกกล้ามเนื้อ
-การหายใจแบบ Pursed –lip
3.รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ควรรับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตมาก
เมื่อมีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ควรรีบพบแพทย์
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
6.แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี
7.การหยุดบุหรี่
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 4
อาจเกิดอาการกลับซ้ำ เนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
กิจกรรมการพยาบาล
1.ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคที่เป็น เพื่อให้ทราบถึงการดำเนินของโรค สาเหตุการรักษาและภาวะแทรกซ้อน
2.สอนวิธีการพ่นยา
2.1 เขย่าหลอดพ่นยา ประมาณ 5 – 10 วินาที เพื่อให้ตัวยาผสมกันได้ที่
2.3 ใช้ริมฝีปากอมรอบ Spacer
2.2 หายใจเข้า-ออก ลึก ๆ 3-5 ครั้ง และครั้งสุดท้ายหายใจออกทางปากเต็มที่
2.4 เริ่มหายใจเข้าพร้อมกับกดหลอดพ่นยา สูดลมหายใจเข้าช้า ๆ และลึกๆ กลั้นหายใจประมาณ 5-10 วินาที เพื่อให้ยากระจายเข้าสู่ปอด แล้วค่อย ๆหายใจออกช้า ๆ
2.5 เมื่อจะพ่นยาเป็นครั้งที่สอง ให้เว้นระยะห่างจากครั้งแรกประมาณ 2-3 นาที แล้วเริ่มต้นขั้นตอนแรกใหม่
2.7 สอนวิธีการฟื้นฟูสภาพ ฝึกการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องและกระบังลม สอนและอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจวิธีหายใจแบบ Pursed-lip breathing
2.6 หลังจากพ่นยาแล้ว ควรทำความสะอาด Spacer ผ่านน้ำสะอาด และผึ่งให้แห้ง ถ้ามีการพ่นยาสเตียรอยด์ร่วมกับยาขยายหลอดลม ควรพ่นยาขยายหลอดลมก่อน และพ่นยาสเตียรอยด์ทีหลัง หลังจากนั้นบ้วนปากให้สะอาด เพื่อป้องกันการติดเชื้อราในปาก
2.8 แนะนำผู้ป่วยในการป้องกันตัวเองจากการติดเชื้อ เชื้อ เช่น ไม่อยู่ในที่แออัด หรือพบปะกับบุคคลที่มีการติดเชื้อ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2
เสี่ยงต่อการเกิดความไม่สมดุลของสารอาหารและน้ำ เนื่องจากภาวะการหายใจล้มเหลว
กิจกรรมการพยาบาล
ทำความสะอาดปากและฟัน ลดสิ่งกระตุ้นผู้ป่วยขณะรับประทานอาหาร เพราะอาจทำให้ความสนใจของผู้ป่วยลดลง
ประเมินความต้องการสารอาหารที่ควรได้รับต่อวันเพื่อวางแผนการให้สารน้ำ
ให้อาหารที่มีโปรตีนและแคลอรี่สูง คาร์โบไฮเดรตต่ำ
ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างน้อยวันละ 3,000 มล.
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 1
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการตีบแคบของหลอดลม
กิจกรรมการพยาบาล
ถ้าหายใจวายพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจและต่อเครื่องช่วยหายใจ ดูแลเครื่องช่วยหายใจให้ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ อยู่ในระบบปิด ถ้าผู้ป่วยมีการหายใจไม่สัมพันธ์กับเครื่อง ให้ปลดเครื่องช่วยหายใจแล้วบีบลูกยาง (self inflating bag) ที่ต่อกับออกซิเจน 100% และรายงานแพทย์
ดูแลให้ออกซิเจน 1 – 3 ลิตรต่อนาที (24 – 32%)
ฟังเสียงการหายใจ
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา (Fowler’s position)
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม โดยพ่นยา Berodual MDI ทุก 4 ชั่วโมงหรือให้ยารับประทาน
ดูแลให้ยา Dexamethasone 4 mg iv ทุก 6 ชั่วโมง เพื่อลดการอักเสบโดยมีฤทธิ์ทาง Glucocorticoid มากกว่า Mineralocorticoid
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะลักษณะการหายใจ อาการเหนื่อยหอบ สังเกตอาการcyanosis วัด O2 saturation Keep > 92% ทุก 1 ชั่วโมงและ Monitor EKG
ถ้าผู้ป่วยมีไข้ต้องให้ยาลดไข้ ตามแผนการรักษาและเช็ดตัวลดไข้ เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดงอย่างสม่ำเสมอ
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 3
ความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อย อ่อนเพลีย และหายใจลำบาก
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินสภาพผู้ป่วยและให้นอนพัก
สอนและกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้มีการออกกำลังกาย การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องร่วมกับการห่อปาก (Purse lip)
ดูแลการได้รับยาขยายหลอดลม ก่อนออกกำลังกายประมาณ 30 นาที หรือให้ยาขับเสมหะ ขณะออกกำลังกายจะให้ออกซิเจน 1 – 3 ลิตร / นาที เพื่อป้องกันภาวะออกซิเจนต่ำ
โรคมะเร็งปอด
แบ่งเป็น
Adrenocarcinoma
Squamous cell carcinoma
Large cell carcinoma
Small cell carcinoma
โรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
Bronchitis
สาเหตุ
สูบบุหรี่
ควัน ฝุ่นละออง
การติดเชื้อ
Tonsillitis
Pharyngitis
Emphysema
สาเหตุ
สูบบุหรี่ ควัน ฝุ่นละออง
การติดเชื้อ
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง
Pneumonia
สาเหตุ
1.ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
2.เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
3.เชื้อไมโคพลาสมา ทำให้เกิดปอดอักเสบชนิดที่เรียกว่า Atypical Pneumonia
เชื้อรา พบได้ค่อนข้างน้อย
เชื้อโปรโตซัว Pneumocystis carinii
สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าดสำลักเข้าไปในปอด ควันพิษ สำลักอาหาร
ปัจจัยเสี่ยงต่อโรคปอดอักเสบ
1.ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง หรือหอบหืด
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ผู้ที่ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก
ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด หรือมีภาวะขาดสารอาหาร
ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่าย ซึ่งมักพบในผู้ที่หมดสติ หรือชัก
ผู้ป่วยที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ เจาะคอ หรือใส่สายให้อาหาร
ประเภทของโรคปอดอักเสบ
Hospital–acquired peumonia (HAP)
Ventilator associated peumonia (VAP)
Community–acquired peumonia (CAP)
Healthcare associated peumonia (HCAP)
การวินิจฉัย
ไข้สูง (39-40 ºซ.) หน้าแดง ริมฝีปากแดง ลิ้นเป็นฝ้า
หายใจตื้นแต่ถี่ ๆ นาทีละ 30-40 ครั้ง ซี่โครงบุ๋ม รูจมูกบาน อาจมีอาการตัวเขียวหรือภาวะขาดน้ำ
อาจมีเริมขึ้นที่ริมฝีปาก ปอดอาจเคาะทึบ (dullness)
เสียงหายใจค่อย (diminished breath sound)
มีเสียงกรอบแกรบ (crepitation) ซึ่งมักจะได้ยินตรงใต้สะบักทั้ง 2 ข้าง
พยาธิสภาพ 3 ระยะ
ระยะที่ 1 ระยะเลือดคั่ง
ผนังถุงลมบวม
ระยะที่ 2 ระยะปอดแข็งตัว
พบโมโนนิวเคลียร์และไฟบรินแทรกอยู่ จะมีน้ำและ Exudate คั่งในถุงลม
ระยะที่ 3 ระยะฟื้นตัว
การรักษาโรคปอดอักเสบ
ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ
ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเล็คโตรลัยท์
ให้อาหารโปรตีนสูง
ดูแลความสะอาดของปากและฟันให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ
ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Cephalosporins,Ampicilin ยาแก้ไอ ยาขับเสมหะ
ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อ
เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
โรคแทรกซ้อนของปอดอักเสบ
1.ปอดบวมน้ำ หรือมีโลหิตคั่งในปอด
2.เยื่อหุ้มปอดอักเสบ ทั้งชนิดมีน้ำและไม่มีน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด
3.มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
4.มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตแล้วกระจายไปสู่อวัยวะ อื่นๆ ได้แก่ ไต เยื่อบุช่องท้อง เยื่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มสมอง ข้ออักเสบ
5.หูชั้นกลางอักเสบและโพรงอากาศอักเสบ
6.ช็อคจากการติดเชื้อ
7.ระบบไหลเวียนล้มเหลวร่วมกับหัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
8.เกิดการจับกลุ่มของโลหิตอุดตันในหลอดโลหิต
TB
Adult Respiratory Distress Syndrome
(ARDS)
สาเหตุ
มีประวัติปอดได้รับบาดเจ็บ การสูดสำลัก
พิษจากการให้ออกซิเจนเข้มข้นเป็นเวลานาน
ติดเชื้อที่ปอดรุนแรง ภาวะช็อค
การเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
การให้สารน้ำและเลือดทดแทน
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของ pulmonary capillary endothelium
ความผิดปกติที่ alveolar epithelium
การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การพยาบาล
ทำการ
Postural drainage Percussion
จัดท่าตามแรงโน้มถ่วงของโลก
จัดท่าเฉพาะสำหรับคนไข้ ARDS คือ ท่า
Prone' s position
หรือท่านอนคว่ำ เนื่องจากคนไข้มีถุงลมแฟบต้องการลมเข้าไปขยายถุงลมที่ปอดเพื่อให้อากาศเข้าถุงลมด้านหลังเพิ่มขึ้น
Pulmonary embolism
สาเหตุ
1.Venous stasis
Vessel injury
Hypercoagulability
พยาธิสภาพ
Hypoxic V/Q imbalance
Vasoconstrict
Decrease surfactant
Pulmonary edema
Atelectasis alveolar dead space
การรักษา
ให้ยาสลายลิ่มเลือด
ให้ยาป้องกันไม่ให้เกิดลิ่มเลือด
ผ่าเอาเลือดที่อุดตันออก
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจVENTILATOR
ข้อบ่งชี้ในการใช้
การแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลง
การหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
ประสิทธิภาพในการทำทางเดินหายใจให้โล่งลดลง
เพื่อลด work of breathing เช่น ผู้ป่วยที่มีกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ผู้ป่วยหลังผ่าตัดใหญ่ ๆ
Inadequate ventilation with respiratory acidosis
High ventilatory work despite adequate CO2 removal ( eq. COPD, asthma)
Inadequate ventilatory response to metabolic acidosis
Inability to maintain adequate oxygenation
Special situation : Increase ICP
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Volume cycled ventilator ควบคุมด้วยปริมาตรลม
Time cycled ventilator ควบคุมด้วยเวลาการหายใจเข้า
Pressure cycled ventilator ควบคุมด้วยความดันลม
4.Flow cycled ventilator ควบคุม ด้วยปริมาตร การไหลของลม
วงจรพื้นฐานของเครื่องช่วยหายใจ
Inspiratory pathway
Expiratory pathway
เครื่องทำความชื้น
Machine หรือตัวเครื่อง
Gas inlet
Expiratory valve
Breath type
Assisted
:ผู้ป่วยหายใจกระตุ้นให้เครื่องทำงาน
Supported
: ผู้ป่วยกำหนดการหายใจออกเอง
Mandatory
: หายใจควบคุมด้วยเครื่องทั้งหมด
Subcutaneous
: เป็นการหายใจของผู้ป่วยเองทั้งหมด
วิธีการช่วยหายใจ
Control mechanical ventilation ( CMV )
เป็นวิธีการช่วยหายใจที่เครื่องจะทำงานแทนผู้ป่วยทั้งหมด โดยผู้ใช้เป็นผู้กำหนดค่า TV, RR , และ Flow waveform
หลักการใช้
ต้องการควบคุมการช่วยหายใจทั้งหมด
ผู้ป่วย Tetanus
ผู้ป่วยไม่หายใจเอง
ข้อดี
เป็น Mode ที่ใช้ง่าย
เป็น Mode มีในเครื่องช่วยหายใจทุกเครื่อง
ข้อเสีย
ต้องใช้ยา Sedative
ต้องติดตาม ABG บ่อย
ผู้ป่วยอาจรู้สึกหายใจลำบาก
Assisted Control ventilation ( AV )
โดยที่จะเป็นการช่วยแบบ Full support หรือผู้ป่วยออกแรงมากน้อยเพียงใด (WOB)จะขึ้นกับ sensitivity , peak inspiratory flow และ respiratory drive ของผู้ป่วยเอง
การตั้ง Flow rate มีความสำคัญมาก ควรให้เพียงพอต่อ Flow demand ของผู้ป่วย
เป็นการช่วยหายใจแบบที่เครื่องช่วยหายใจถูกกระตุ้นโดยการหายใจของผู้ป่วยบางส่วนหรือทั้งหมด ขึ้นกับอัตราการหายใจของผู้ป่วยและอัตราการหายใจของเครื่องที่ตั้งไว้
ข้อดี
ใช้ง่าย คุ้นเคย
ใช้ได้ทุกประเภทของผู้ป่วย
ไม่ต้อง paralyze ผู้ป่วย
ใช้ได้ในเครื่องช่วยหายใจทุกเ
ข้อเสีย
อาจเกิด Respiratory alkalosis
อาจเกิด Dys-synchrony ได้ง่าย
Synchonized intermittent mandatory ventilation ( SIMV )
หลักการทำงาน
เครื่องให้ IMV ให้สัมพันธ์กับช่วงที่ผู้ป่วยเริ่มหายใจกระตุ้นเครื่อง
หลักการใช้
ใช้ในผู้ป่วยที่ต้องการ การช่วยหายใจบางส่วน
ข้อดี
Mean airway pressure น้อยกว่า CMV
ช่วย Maintain Respiratory muscle strength
ใช้ในการ Wean ผู้ป่วยที่หย่าเครื่องช่วยหายใจยาก
ข้อเสีย
ทำให้เกิด hypoxemia ได้
ผู้ป่วยจะเหนื่อยมากหากยังไม่พร้อม
Pressure support Ventilation (PSV)
เครื่องจะให้ flow จนถึงระดับ pressure ที่ตั้งไว้
ผู้ป่วยเป็นคนกำหนด
Tidal volume
Rate
เวลาในการหายใจเข้า
Positive end expiratory pressure
Continuous Positive airway pressure
เป็น Spontaneous breath ทั้งหมด
เครื่องให้อากาศตลอดเวลา
ลดการออกแรงในการหายใจ
ข้อดี
ลดผลการแทรกซ้อนจากเครื่องช่วยหายใจ
ใช้แบบ Non invasive ventilation ได้
ใช้เสริม mode PSV เพื่อลด Work of Breathing
ข้อเสีย
ผู้ป่วยอาจรู้สึกอึดอัด
ไม่มี Back up mode
Pressure control ventilator
ความผิดปกติจากการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ
ระบบการต่อของเครื่อง
ความผิดปกติของการทำงาน
ระบบการเตือนความผิดปกติ
การปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
ระบบความชุ่มชื้น
ระบบการต่อของเครื่อง
อาการแสดง
Alarm low Exhale tidal volume / Low Exhale MV
Alarm low inspiratory pressure
สาเหตุที่พบได้บ่อย
สายชุดช่วยหายใจหลุดจากผู้ป่วย
สายชุดช่วยหายใจรั่ว
กระป๋องดักน้ำปิดไม่สนิท ปีนเกลียว รั่ว
การแก้ไข
จุดที่ต่อกับผู้ป่วย
จุดที่มักรั่ว
จุดที่ปิดปีนเกลียว
การปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
อาการแสดง
Alarm low insp. Pressure
Alarm high pressure limit
Alarm high respiratory rate
Alarm I:E
Alarm low PEEP/CPAP
Alarm low Exhale TV / low Exhale MV
สาเหตุ
เกิดจากการตั้งค่าต่างๆที่กล่าวมาแล้วไม่เหมาะสมกับผู้ป่วยรายนั้นๆ
การแก้ไข
ตรวจสอบการตั้งค่าต่างๆว่าสัมพันธ์กับการร้องเตือนของเครื่องและอาการแสดงของผู้ป่วยหรือไม่
ข้อบ่งชี้ในการใส่ท่อช่วยหายใจ
ป้องกันหรือแก้ไขภาวะ upper airway obstruction
ผู้ป่วยการหายใจล้มเหลวที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
ป้องกันการสำลักอาหารในกระเพาะอาหาร
ดูดเสมหะในหลอดลม
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
เกณฑ์การหย่าเครื่องช่วยหายใจ ( Weaning criteria )
Clinical factors
Pulmonary gas exchange
Pulmonary mechanics
ความพร้อมทางด้านจิตใจ
ระดับความรู้สึกตัวดี
ไม่มีภาวะทุพโภชนาการ
ใช้ยานอนหลับ หรือยาแก้ปวดลดลง
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ( Weaning technique )
Conventional T- piece method
Intermittent mandatory ventilation ( IMV )
Pressure Support Ventilation (PSV)
Continuous positive airway pressure ( CPAP )
การยุติการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ( termination weaning )
ชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มหรือลดลง มากกว่า 20 ครั้ง/นาที
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป
ความดันโลหิตเพิ่มหรือลดจากเดิม มากกว่า 20 mmHg
O2 Saturation < 90 %
EKG มี arrhythmia
Skin มีเหงื่อออกมาก
ABG , pH < 7.35 จากการคั่งของ CO2
อาการแสดงออกว่ากล้ามเนื้ออ่อนแรงคือการใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ ( accessory muscle ) หรือการหายใจแบบ paradoxical
ผู้ป่วยบอกว่าเจ็บหน้าอก อ่อนเพลีย หรือหายใจลำบาก
การพยาบาลผู้ป่วยขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ ( Nursing care )
อธิบายขั้นตอนการหย่าเครื่องช่วยหายใจให้ผู้ป่วยรับทราบเพื่อการให้ความร่วมมือและพยายามหายใจด้วยตัวเอง ตลอดจนให้กำลังใจ ความมั่นใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย
ก่อนเริ่มกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจ ต้องดูดเสมหะก่อนและให้ผู้ป่วยพักหลังดูดเสมหะประมาณ 15 นาที จากนั้นจึงเริ่มการหย่าเครื่องช่วยหายใจและดูดเสมหะขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจเท่าที่จำเป็น
จัดให้ผู้ป่วยนั่งศีรษะสูงหรือนั่งหลังตรง(กรณีไม่มีข้อห้าม ) เพื่อช่วยให้กระบังลมเคลื่อนไหวได้ดี
เจาะและส่งตรวจ ABG ไว้เป็นข้อมูลพื้นฐานก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจครั้งแรก
ให้ผู้เริ่มกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจตามวิธีที่เลือกใช้
สังเกตและบันทึก
ระดับความรู้สึกตัว
สัญญาณชีพ BP, HR ,RR
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
O2 Saturation
ส่งตรวจ ABG ตามแผนการรักษา
วัดและบันทึก lung mechanic หรือ weaning record
สังเกตและบันทึก เมื่อผู้ป่วยมีอาการแสดงว่ากล้ามเนื้ออ่อนแรง จากการหย่าเครื่อง หรือผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย หายใจลำบาก เจ็บหน้าอก ถ้าพบอาการดังกล่าวร่วมกับสัญญาณชีพที่เปลี่ยนไปในทางที่เลวลง ควรยุติการหย่าเครื่อง และรายงานแพทย์
ความหมาย
การหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจ ( discontinuing from ventilatory support )
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ ( weaning from mechanical ventilator )
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัดมะเร็งปอด
เน้นการจัดท่านอน
Lobectomy
ผ่าlobe ซ้ายนอนตะแคงขวา
ผ่าlobeขวานอนตะแคงซ้าย
Pneumonectomy
ผ่าซีกขวานอนตะแคงขวา
ผ่าซีกซ้ายนอนตะแคงซ้าย
ใส่ Vacuum drainและดูแลสาย สังเกตปริมาณเลือดที่ออก
การขับเสมหะไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีเสมหะปริมาณมากและเหนียวข้น
การพยาบาล
เปลี่ยนท่าบ่อยเพื่อป้องกันเสมหะคั่งค้าง กระตุ้นระบบไหลเวียน
ให้ยาขับเสมหะ
ดื่มน้ำมากๆ 2,000 - 3,000 ซีซีต่อวัน หากไม่มีน้ำเกินหรือจำกัดน้ำ
ประเมินเสมหะ ติดตามผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
วัดสัญญาณชีพ เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลง
การจำกัดการขยายตัวของปอด
การเกิดภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)
Simple Pneumothorax
แรงกระแทกจากการแทงสายเข้าเส้นเลือดใหญ่ ไม่มีแผลภายนอก
Spontaneous Pneumothorax
มีลมจากการแตกของถุงลมปอด อาจเป็นจาก Emphesema หรือจากการอัดลมเข้าเครื่องช่วยหายใจมากเกินไป
Tension Pneumothorax
เป็นภาวะวิกฤติที่อันตราย
ลมเข้าได้แต่ออกไม่ได้ ปอดแฟบอย่างรวดเร็ว
Open Pneumothorax
ลมเข้าได้ออกได้ มีแผลภายนอก
การดูแลเบื้องต้นภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด
ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม หรือวาสลินก๊อส
ถ้ามีข้อบ่งชี้ ก็ใส่ท่อช่วยหายใจ
ติดตามอาการ เฝ้าระวังภาวะลมดันในช่องปอด จากการช่วยหายใจและ
จากการที่มีลมรั่วจากปอดที่ได้รับบาดเจ็บผ่านเข้าทางช่องเยื่อหุ้มปอด
ถ้าผู้ป่วยหายใจแย่ลง ให้เอาผ้าปิดแผลออกเพื่อให้อากาศระบายออกได้
ถ้าไม่ได้ผล ให้ใช้เข็มเจาะระบายลม
ภาวะมีของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอด(Pleural effusion)
สาเหตุ
โรคปอด เช่น วัณโรคเยื่อหุ้มปอด ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดร่วมกับปอดอักเสบ
2.มะเร็งปอดหรือมะเร็งอวัยวะอื่นที่แพร่กระจายมายังเยื่อหุ้มปอด
โรคหัวใจ ได้แก่ ภาวะหัวใจวาย เลือดคั่ง
โรคไต ได้แก่ ภาวะไตวาย กลุ่มอาการที่มีไข่ขาวในปัสสาวะ
โรคตับแข็ง
โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น โรคเอสแอลอี
โรคอื่นๆ ที่พบได้ไม่บ่อย เช่น น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอดที่เกิดร่วมกับฝีบิดในตับ ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน เป็นต้น
การตรวจร่างกาย
เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงลดลง
ทรวงอกเคลื่อนไหวลดลง
ได้ยินเสียง pleural friction rub
อาจพบหลอดลมคอเอียง
มีของเหลวอยู่ 2 ประเภท
น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวใส
น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น
การรักษา
เจาะของเหลวออก
รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสมอยู่ระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดขึ้นมาอีก
ภาวะเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด(Hemothorax)
สาเหตุ
Intercostal chest injury
Blunt chest injury
Penetrating chest injury
Decelerating injury
ระดับของเลือดที่ออก
moderate hemothorax
; 350-1,500 ml. มีอาการแน่นหน้าอก หายใจลำบาก และอาการของการเสียเลือด
massive hemothorax
; > 1,500 ml./hr. หรือชั่วโมงถัดมาออก > 400 ml. หรือ 2-3 ชั่วโมงต่อมาออกมากกว่า 200-300 ml.
minimal hemothorax
; 250-350 ml. เลือดจะถูกดูดกลับโดยเยื่อหุ้มปอดภายใน 10-14 วัน
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกายพบหลอดลมเอียงเนื่องจากมีการกดเบียด ฟังปอดไม่ได้ยินเสียงลม เคาะปอดจะมีเสียงทึบ
การระบายทรวงอก(Intercostal close Chest drain)
ข้อบ่งชี้
มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumothorax)
มีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด (Hemothorax)
มีลมและมีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pneumohemothorax)
มีหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด(Empyema)
มีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (Pleural effusion)
สำหรับใส่ยาเข้าไปทางท่อระบายทรวงอก
หลังผ่าตัดหัวใจและทรวงอก เพื่อระบายน้ำและเลือดจากรอบแผลผ่าตัด
ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ และใส่ PEEP แล้วมี subcutaneous emphysema
วัตถุประสงค์
เพื่อระบายอากาศและสารเหลว เช่น หนอง เลือด หรืออากาศออกจากเยื่อหุ้มปอด
เพื่อช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดีภายหลังการผ่าตัดปอด หรือได้รับบาดเจ็บทรวงอก
เพื่อช่วยให้เยื่อหุ้มปอดทั้งสองชั้นมาบรรจบกัน
ป้องกันเมดิแอสตินัมเคลื่อนตัวไปหรือถูกกด
การระบายทรวงอก ทำให้สามารถทราบจำนวนสารเหลว หรือลมที่ออกมาจากตัวผู้ป่วย
การต่อท่อระบายทรวงอก
ระบบสองขวด
ขวดแรก
รองรับสิ่งคัดหลั่ง
ขวดสอง
ผนึกกั้นอากาศ
ระบบสามขวด
ขวดแรก
รองรับสิ่งคัดหลั่ง
ขวดสอง
ผนึกกั้นอากาศ
ขวดสาม
ควบคุมความดันให้เท่ากับความดันบรรยากาศ
ระบบขวดเดียว
รองรับสิ่งคัดหลั่งและผนุกกั้นอากาศ
เหมาะกับการระบายลม
ระบายเลือดไดในกรณีเลือดออกน้อย
ใช้ค่าแรงโน้มถ่วงของโลก
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่ ICD
ระบายลม สารเหลว เลือด
จัดท่าศีรษะสูง
ตำแหน่งขวดต่ำกว่าทรวงอก
สังเกตการกระเพื่อมขึ้นลง(fluctuation)ของน้ำในแก้ว
หายใจเข้าระดับน้ำสูงขึ้น
หายใจออกระดับน้ำลดลง
ตรวจสอบว่าเป็นระบบปิด ไม่มีรอยรั่ว
บีบรูดสาย 30-60 นาที ในระยะแรก
ควรหนีบสายยางขณะเคลื่อนย้ายแต่ห้าม Clamp สายนาน ควรทำในช่วงสั้นๆ
2.ดูแลมิให้อากาศเข้าในช่องเยื่อหุ้มปอด
สังเกตการปุดของฟองอากาศ
เตรียมคีมและใช้หนีบสายยางทันทีที่ขวดแตกหรือสายหลุด
Seal ข้อต่อต่าง ๆ ให้แน่นเป็นระบบปิด
สอนให้นอนทับหรือใช้วาสลีนก๊อส ปิดแผลทันทีที่ท่อระบายหลุดจากทรวงอก
กระตุ้นให้ทำ Breathing exercise โดยสอนการหายใจแบบ
deep breathing
diaphragmatic หรือ abdominal breathing
incentive spirometer
ข้อควรระวัง
ระดับของของเหลวที่เพิ่มขึ้น จะทำให้เกิดความดันเป็นลบสูงขึ้นและส่งผลให้การระบายอากาศหรือของเหลวไม่ดี
ความดันลบที่เกิดขึ้นมีค่าเท่ากับความสูงของน้ำในหลอดแก้วที่สูงขึ้นจากระดับน้ำภายในขวด
ต้องเปลี่ยนขวดเมื่อระดับของเหลวในขวดสูงกว่าปลายหลอดแก้วประมาณ 4-5 ซม.เพราะจะทำให้เกิดความดันเป็นลบสูงขึ้น
การถอดท่อระบายทรวงอก
หลังถอดท่อระบาย ใช้วาสลินก๊อสปิดแผล ใน 48 ชั่วโมงแรก ถ้าแผลซึม ให้เปลี่ยนเฉพาะก๊อส ไม่ควรเอาวาสลินก๊อสออก ถ้าจำเป็นต้องเอาออก ให้ผู้ป่วยหายใจออกแล้วกลั้นไว้
นางสาววณิชญา เคลือบคนโท เลขที่ 63 รหัสนักศึกษา612501067