Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล, image, image, image - Coggle Diagram
บทที่ 5 เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
รูปแบบของการเจรรจา
มีคู่เจรจาอยู่เพียง ๒ ฝุาย
นิยมดำเนินการเจรจาโดยไม่เคร่งครัด
ยึดถือหลักการในเรื่องมรรยาทสังคมเป็นเกณฑ์
มีหลายฝุายร่วมในการเจรจา
มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องของอาวุโสและศักดิ์ศรีขององค์กรที่มีผู้แทนเข้าร่วมประชุม
รักษาระเบียบพิธีการในการประชุมอย่างเคร่งครัด
ความหมาย
กระบวนการที่บุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป มีปฏิสัมพันธ์ ในการดาเนินการแก้ไขปัญหา จัดการกับความแตกต่างระหว่างกัน โดยสันติวิธี การโน้มน้าว การประนีประนอม เพื่อแสวงหาข้อยุติที่ทุกฝ่ายตกลงยอมรับกันได้ บรรลุความต้องการของทุกฝ่าย
กระบวนการเจรจาต่อรอง
ขั้นเตรียมการและวางแผน
ขั้นกาหนดกฏกติกาพื้นฐาน
ขั้นทาความชัดเจนและหาเหตุผลสนับสนุน
ขั้นการต่อรองและแก้ปัญหา
ขั้นจบการเจรจาและนาไปสู่การปฏิบัติ
ขั้นเตรียมการ
การพิจารณาเบื้องต้นเพื่อกำหนดกลยุทธ์ในการเจรจาต่อรอง
การกำหนดยุทธศาสตร์ในการเจรจาต่อรอง
การกำหนดยุทธวิธีสาหรับการเจรจาต่อรอง
เทคนิคการเจรจาต่อรอง
การต่อรองแบบนุ่ม
ผู้ต่อรองยินดีเสนอและยินยอมคู่เจราจาในบางประเด็น มีความไว้ใจกัน มองคู่เจรจาเป็นมิตร และยอมตามเพื่อหลีกเลี่ยงการทะเลาะเบาะแว้ง
การต่อรองแบบแข็ง
ผู้เจรจายึดจุดยืนของตนเป็นหลัก โดยไม่คำนึงถึงข้อเจรจาของฝ่ายตรงข้าม มองคู่เจรจาเป็นศัตรู เรียกร้องเพื่อต้องการเอาชนะฝ่ายเดียว
หัวใจสำคัญในการเจรจาต่อรอง
ความจริงใจ (sincerity)
ความเข้าใจ (Understanding)
การยอมรับ ( Acceptance)
การสื่อสาร (Communication)
วิธีลดความขัดแย้งในการเจรจาต่อรอง
ถอยสักนิด หากเห็นว่าการเอาชนะมีแต่ทำให้เกิดผลเสีย
ประนีประนอม หรือ “พบกันครึ่งทาง”
ร่วมมือกัน จะได้ผลต่อเมื่อทั้งสองมีความตั้งใจจริงพอ ๆ กันที่จะแก้ปัญหานั้น
ถอนตัวออกจากสถานการณ์ขัดแย้ง หักด้ามพร้าด้วยเข่า เมื่อสถานการณ์ตึงเครียดหรือไม่มีทางออกอื่นอีกแล้ว
แนวทางปฏิบัติในการเจรจาต่อรอง
เริ่มพูดด้วยการเอ่ยชม ฟังอย่างตั้งใจ ให้เกียรติและเห็นใจอีกฝ่ายก่อนจะเริ่มพูด
อย่าบุกรุกอาณาจักรส่วนตัวของผู้อื่น
ความสงบ อย่าพยายามตกลงกันในเวลากลางคืน
กำหนดบทบาทให้เหมาะสม จะทำให้สามารถกำหนดทิศทาง และผลของการสนทนาได้
พร้อมที่จะเปลี่ยนความคิด เพราะมีแต่คนโง่และคนตายที่ไม่ยอมเปลี่ยนความคิด
อย่าผูกมัดตัวเอง และอย่าพูดว่าไม่มีทาง
ถ้าคู่เจรจาใช้วิธีการไม่สร้างสรรค์ ควรเลิกโต้แย้ง
การโต้แย้งไม่ต้องมีผู้แพ้
ข้อพึงระวัง
การเตรียมการไม่พอ
เมินเฉยกับการให้และรับรู้
ใช้พฤติกรรมข่มขู่ จะเกิดแรงต้าน
ขาดความอดทน ไม่ควรรีบร้อนจึงจะประสบผลสาเร็จ
อารมณ์เสีย ทำให้ไม่ได้รับความร่วมมือและแก้ปัญหาไม่ได้
พูดมากเกินไป พูดน้อยเกินไป
โต้เถียงแทนการจูงใจ ต้องใช้ข้อมูลต่างๆ
เฉยเมยกับความขัดแย้ง ต้องมีการเรียนรู้ไม่ใช่หลีกหนีปัญหา
การตัดสินใจแก้ไขปัญหา (Decision Making)
ปัญหา
ช่องว่างหรือความแตกต่างระหว่างสภาพการณ์ปัจจุบัน
กับสภาพการณ์ที่เราต้องการให้เกิดขึ้น
การตัดสินใจ
การเลือกเอาวิธีปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่ง
กระบวนการตัดสินใจ
การระบุปัญหาหรือกำหนดปัญหา
เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
หาวิธีการแก้ปัญหาวิเคราะห์ทางเลือก
พิจารณาถึงผลดีผลเสียของแต่ละวิธี
เลือกวิธีที่ดีที่สุดไปใช้
ดำเนินการสั่งการ
ประเมินผลการตัดสินใจ
ข้อจากัดของการตัดสินใจของผู้บริหาร
การเบี่ยงเบนที่ไม่ปรากฏออกมาให้เห็น
การตัดสินใจผิดเพราะไม่สามารถควบคุมบางอย่างได้
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
5 . ข้อจำกัดด้านเวลา
การตัดสินใจโดยเน้นที่ความพอใจและการยอมรับของคนในองค์การ
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ
พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริหาร
วัฒนธรรมและความเชื่อถือของบุคคล (Belief)
ประสบการณ์และการรับรู้ในอดีต (Experience)
อคติและความลำเอียง (Bias)
ทฤษฎีการตัดสินใจของโบโน (Edward de Bono)
หมวกสีขาว (White Hat) หมายถึง การตัดสินใจอย่างเป็นกลางปราศจากอคติ ข้อเท็จจริง จานวนตัวเลข
หมวกสีแดง (Red Hat) หมายถึงการตัดสินใจด้วยความโกรธ โทสะ
หมวกสีดา (Black Hat) หมายถึงการตัดสินใจด้วยแนวคิดที่เป็นลบ มองโลกในแง่ร้าย
หมวกสีเหลือง (Yellow Hat) หมายถึงการตัดสินใจด้วยการคิดในทางบวก คิดทางที่ได้ประโยชน์
หมวกสีเขียว (Green Hat) หมายถึงการตัดสินใจที่สร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ
หมวกสีฟูา (Blue Hat) หมายถึงการตัดสินใจในภาพรวมกว้างทั้งหมดทุกสีรวมกัน ประเมินถึงผลลัพท์
การบริหารเวลา (Time Management)
ดำเนินการตามลาดับ 3 ขั้นตอน
การกำหนดความสาคัญ (Set Priorities)
การวางแผน (Planning)
การปฏิบัติตามตารางเวลาที่กาหนด (Protecting Schedule Times)
เทคนิคการบริหารเวลา
จดบันทึกการใช้เวลาในแต่ละวัน
ตั้งเป้าหมายและวัตถุประสงค์
วางแผนงานล่วงหน้า
พิจารณางานที่จะทำต่อไป
ใช้โทรศัพท์ให้เป็น
มีความรับผิดชอบ
สร้างมนุษยสัมพันธ์
เพิ่มเวลา
จัดลำดับความสาคัญของงานให้ชัดเจน
ใช้ชีวิตอย่างสมดุล
ลงมือทำงานที่ยากที่สุด
มอบหมายงาน
วางแผนฉลองความสำเร็จ
หลักการบริหารเวลา
บริหาร/พัฒนาลูกน้อง
พัฒนาความสามารถของลูกน้อง โดยการสอนงาน การเป็นพี่เลี้ยงการอบรมลูกน้องในขณะทางาน
ชีวิตส่วนตัว
อยู่กับตนเอง หรือทากิจกรรมที่สบายๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่ชอบและอยากที่จะทา
ครอบครัว/คนที่รัก
อยู่กับครอบครัว/คนที่รัก โดยการพาไปเที่ยวนอกบ้าน หรือการหากิจกรรมที่ทาร่วมกัน
บริหารงานของตนเอง
จัดการงาน โดยการวางแผน การกาหนดกลยุทธ์การทางาน และการคิดวิเคราะห์ปรับปรุงระบบการทางาน
การบริหารความขัดแย้ง (Conflict Management)
ผลจากความขัดแย้ง
ผลทางลบ
การสื่อสารถูกบิดเบือนไม่ทั่วถึง
ไม่ได้รับความร่วมมือ
ไม่ยอมรับซึ่งกันและกัน
ขาดความคิดริเริ่มใหม่ๆ
คุณภาพการตัดสินใจต่า
อาจทาให้ผู้บริหารใช้อานาจเป็นเผด็จการมากขึ้น
ผลทางบวก
เกิดความคิดริเริ่มใหม่ๆ ในการทางาน
การควบคุมการปฏิบัติงานจะดีขึ้น
ความรอบคอบ ความมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
เกิดการพัฒนาวิธีการทางานใหม่ๆ
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งตามแนวตั้ง (Vertical Conflict)
เป็นความขัดแย้งที่เกี่ยวข้องกับสายงานบังคับบัญชา นับตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูงขององค์การจนถึงผู้ปฏิบัติงาน
ความขัดแย้งตามแนวนอน (Horizontal Conflict)
เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับผู้บริหาร หรือผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ในระดับเดียวกันซึ่งต่างฝุายต่างก็มีอานาจตามตาแหน่ง (Authority) ของตนเอง
ความขัดแย้งตามแนวทแยงมุม (Diagonal Conflict)
เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่งกับ ต่างระดับต่างสายงานบังคับบัญชา
สาเหตุของความขัดแย้ง
1.ผลประโยชน์ พบมากที่สุด
2.บทบาทไม่ชัดเจน
3.เป้าหมายการทำงาน เป้าหมายในการทำงาน
มีความแตกต่างกัน
4.อำนาจ อำนาจตามตาแหน่ง (Authority)
5.การเปลี่ยนแปลง การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง (Resistance to change) เป็นธรรมชาติ
การบริหารความขัดแย้ง
1.การชนะ–แพ้ (Domination)
2.การประนีประนอม (Compromise)
3.การประสานประโยชน์ (Integrated Solution)
ความขัดแย้งในงานการพยาบาล
•การมีพฤติกรรมที่ต่อต้านหรือฝุาฝืน
•ความเครียด
•อำนาจหน้าที่ของแพทย์
•ความเชื่อ ค่านิยมและเป้าหมาย
การเสริมพลังอำนาจ (Empowerment)
กลยุทธ์การเสริมสร้างพลังอำนาจ
1.การบริหารงานอย่างมีส่วนร่วม (participative management)
เน้นการใช้ความคิดสร้างสรรค์ และความเชี่ยวชาญ
2.สร้างเปูาหมายงาน (goal setting) สร้างเปูาหมายที่ท้าทาย
เป็นที่ยอมรับ และให้รางวัลเมื่องานบรรลุเปูาหมาย
3.สร้างระบบการให้ข้อมูลย้อนกลับ (feed back system)
การติดตามให้ความสนใจในการปฏิบัติงาน
4.จัดระบบเสริมแรง (competence based reward)
5.จัดระบบงานที่ท้าทาย เพิ่มโอกาส
ความรับผิดชอบในการทางาน ทาให้งานนั้นน่าสนใจ
6.ทาตัวเป็นแบบอย่าง เป็นพี่เลี้ยง สอนงาน
การสื่อสาร พฤติกรรมที่แสดงออกอย่างเหมาะสม
เป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคคล โดยผู้บังคับบัญชาถ่ายโอนอำนาจ ให้อิสระในการตัดสินใจ และจัดหาทรัพยากรในการปฏิบัติงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชา รวมถึงการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน และส่งเสริมให้บุคคลเกิดความสามารถในทำงานและแก้ปัญหาต่างๆได้บรรลุผลสาเร็จของตนเองและองค์กร
รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจ 2 ลักษณะ
การเสริมสร้างพลังอานาจด้านโครงสร้างและการเสริมสร้างพลังอานาจด้านจิตใจ
การพัฒนาผู้ปฏิบัติงาน ส่วนการเสริมสร้างพลังอานาจด้านจิตใจ เป็นการคานึงถึงการเสริมแรงทางด้านจิตใจ