Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร, นางสาวอรณา สุทธิเชชษฐ์ รุ่น…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหาร
กระเพาะอาหารอักเสบ ( Gastritis )
พยาธิสภาพ
เกิดจากสารเคมีที่มีฤทธฺ์กัดกร่อนเยื่อบุกระเพาะอาหารทำให้กระเพาะบางลง
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย Helicobacter pylori เชื้อไวรัสบางชนิดหรือเชื้อราในผู้ป่วที่ภูมิต้านทานบกพร่อง
เกิดจากความเครียด การรีบกินอาหาร กนอาหารไม่ตรงเวลาทำให้มีกรดในกระเพาะอาหารมาก
อาการแสดง
ปวดท้องใต้ลิ้นปี่เป็นๆ หายๆ ท้องอืด แน่นท้อง ถ่ายเป็นเลือดหรือสีดำ
การพยาบาล
แนะนำเรื่องการรับประทานควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารรสจัด
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาเช่น Histamine Ranitidin Cimitidine Alum milk
กรณีอาการรุนแรง
ประเมินภาวะ hypovolemic shock
NPO เพื่อลดการระคายเคืองและเพื่อสังเกตเลือดออก
ให้สังเกตุการมีเลือดอกในทางเดินอาหาร
ให้สารน้ำทดแทนตามแผนการรักษาของแพทย์ บันทึก I/O
กรณีต้องผ่าตัดส่องกล้องให้เตรียมสภาพจิตใจและร่างกาย
ภาวะกรดไหลย้อน ( Gastroesophageal Reflux disease : GERD )
สาเหตุ
การทำลายของเส้นประสาท head injury down syndrome มีผลต่อการส่งสัญญาณ ไป lower esophagus sphincter ( LES )
มีอาหารค้างในกระเพาะอาหารทำให้ท้องอืด
ความดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น
ภาวะ lower esophagus sphincter หย่อนทำให้การกลืนบกพร่อง
พยาธิสภาพ
เกิดจากความดันกระเพาะอาหารสูงกว่าความดัน LES ทำให้เกิด TLESR ถ้าความดันไม่สัมพันธ์กับการกลืนจะทำให้อาหารและน้ำย้อนกลับเข้าไปในกล่องเสียงได้
อาการแสดง
ในทารก 3-4 เดือน มีอาการขย้อน อาเจียนหลังให้นมหายเองเมื่ออายุ 12-18 ปี
เยื่อบุหลอดอาหารอักเสบ
ดูดนมไม่ได้ กลืนลำบาก กระสับกระส่าย ปวดแสบยอดอก
ปวดใต้้ลิ้นปี่ น้ำหนักขึ้นช้า ปอดอักเสบ หอบหืด เจริญเติบโตช้า พัฒนาการไม่สมวัย
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
การให้นม
การขย้อนนม
การกิน
ปริมาณนมที่นมในแต่ละมื้อ
น้้าหนักส่วนสูงเทียบกับ growth chart
เจ็บหน้าอก
ขมในปาก
หอบหืด
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการ
Upper GI Series ใช้ตรวจกรณีที่มีการอุดกั้นของทางเดินอาหาร
Esophageal pH Monitoring ใส่ pH prob เข้าหลอดอาหารบันทึกค่ากรดด่างในหลอดอาหารต่อเนื่องกัน 18-24 ชั่วโมง
Endoscopy and Biopsy
ส่องกล้องดูการเปลี่ยนเเปลงของเยื่อบุทางเดินอาหาร ตัดชิ้นเนื้อเพื่อดูพยาธิสภาพ
การพยาบาล
จัดท่านอนศรีษะสูง 30 องศา ตะแครงด้านซ้าย นาน 30 นาที
ให้นมจำนวนน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง หลังให้นมจับเด็กเรอเพื่อไล่ลม
ให้ยากระตุ้นการบีบตัวของหลอดอาหาร เพิ่มความดัน LES
การผ่าตัด การท้า fundoplication
โรคอุจจาระร่วง ( Diarrhea )
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อ
เชื้อไวรัส
rotavirus
เชื้อแบคทีเรีย
Salmonella
Shigella
Cambylobactor
Vibrio cholera
botulinum
ไม่ติดเชื้อ
การดูดซึมผิดปกติ
เกิดจากการขาดสารอาหาร
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง
เกิดการแพ้อาหาร
การได้รับสารพิษเช่น ตะกั่ว
พยาธิสรีรภาพ
เกิดเมื่อมีเชื้อเข้าไนทางเดินอาหารทำให้เกิดการหลั่งและลดการ
ดูดซึมของลำไส้ซึ่งจะพบความรุนแรง และเฉียบพลัน จากการขาดน้ำ ภาวะเป็นกรด และช็อคไดเมื่อขาดน้ำรุนแรงถ้าเชื้อเข้าไปนเซลล์เยื่อบุลำไส้ มีการอักเสบ ทำให้เซลล์แตก มีเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นในบริเวณเยื่อบุลำไส้ มีการหลุดลอกของเซลล์เกิดแผล มีอาการปวดเบ่ง ปวดถ่าย อุจจาระเป็นมูกเลือด
อาการแสดง
อุจจาระขาวขุ่นเหมือนน้ำซาวข้าวกินคาว
มีไข้
ปวดท้อง ตรวจอุจจาระพบเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาวน้อย
กระหายน้ำ
ปวดเมื่อยตัว
ถ่าย 3 ครั้งขึ้นไป
ปกแห้ง ผิวแห้ง ถ้าเป็นมากตาจะโหล เพราะเนื้อเยื่อรอบตาขาดน้ำ
ถ้าขาดน้ำมากอาจทำหให้ มึนงง กระสับกระส่าย ช็อค
การรักษา
ให้สารน้ำทดแทนและแก้ไขสภาวะสมดุลเกลือแร่กรณีเกดภาวะช็อคให้สารน้ำทดแทนทางหลอดเลือดดำ ถ้าอาการไม่หนักให้กิน ORS
ให้สารอาหารทดแทนถ้าเด็กยังไม่ดูดนมแม่ ไม่ควรให้เด็กงดนม
ให้ยาปฎิชีวนะในกรณีที่ติดเชื้อแบคทีเรีย
ให้ยาเช่น Probiotics antimotility และ antisecretory
ให้ยาแก้อาเจียนตามแผนก่อนรักษา
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับสารน้ำที่เพียงพอเมื่อแสดงอาการภาวะขาดน้ำ
รับประทานอาหารที่สุกสะอาด ถูกหลักอนามัย เพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
ดูแลทำความสะอาดเพื่อป้องกันการคะคายเคืองของผิวหนังรอบทวารหนัก
เมื่ออาการรุนแรงควรรีบพามาโรงพยาบาลทันที
ภาวะทุพโภชนาการ ( Malnutrition )
สาเหตุ
ทางเศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดล้อม คือ ขาดความรู้ในการการเลี้ยงดูครอบครัว เช่นมีความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับการกินอาหาร
แม่ขาดสารอาหารต้้งแต่ระยะตั้งครรภ์
การเจ็บป่วยของทารก เช่น การติดเชื้อ ท้องเสียเรื้อรัง ท่อน้ำดีตีบตัน
พยาธิสภาพ
เมื่อขาดสารอาหาร 2-3 วันแรกตับจะสลายไกลโคเจนเป็นกลูโคส ทำให้กลูโคสในเลือดลดลง อินซูลินลดลง กลูคากอนสูงขึ้น ทำให้เกิดขนวนการสร้างกลูโคสจากสารที่ไม่ใช่คาร์โบไฮเดรต มีการสลายโปรตีนจากกล้ามเนื้อเป็นกรดอะมิโนเพิ่มขึ้น ไขมันเป็นกรดไขมันอิสระเพื่อเปลี่ยนเป็นกลูโคสให้อวัยวะต่างๆของร่างกายใช้
เมื่อขาดอาหาร5-10 วันร่างกายเปลี่ยนไปใช้ไขมัน คือสารคีโตนเป็นพลังงานแทน เมื่อไขมันถูกใช้หมดจะกลับมาใช้โปรตีนที่เหลือเป็นพลังงานโดยจะใช้โปรตีนในอวัยวะที่สำคัญ เช่น หัวใจ ปอด เม็ดเลือดแดง ทำให้ร่างกายจะมีชีวิตอยู่ไม่ได้
โรคขาดโปรตีนและพลังงาน
Marasmus
เด็กมีอาการผอม กล้ามเนื้อลีบจากการขาดพลังงานมีภาวะแทรกซ้อนคือ ขาดน้ำ ติดเชื้อง่าย ตามีรอยฌรคจากการขาดวิตามินเอ
Kwashiorkor
เด็กมีอาการบวมฉุ น้ำหนักตัวน้อยเนื่องจากขาดโปรตีนมาก
ผลกระทบ
ด้านสมอง
ด้านเชาว์ปัญญาและความสามารถในการเรียนรู้
ด้านร่างกาย
เตี้ย ซูบผอม กล้ามเนื้อลีบ น้ำหนัก
ตัวน้อย ติดเชื้อง่ายและส่งผลต่ออวัยวะภายในอื่นๆ
การรักษา
รักษาประคับประคองตามอาการ รักษาโรคแทรกซ้อน
การรักษาเฉพาะ เช่นการให้ยาปฏิชีวนะตามการเพาะเชื้อ
ให้ได้รับอาหารครบตามหลักโภชนาการ
การรักษาด้านจิตใจ
โรคอ้วน ( Obesity )
สาเหตุ
พันธุกรรม เช่น คนในครอบครัวมีประวัติเป็นโรคอ้วน
สิ่งแวดล้อม
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น ติดหวาน ติดมัน
อาการแสดง
มีการสะสมของเนื้อเยื่อไขมันในร่างกาย
รับประทานอาหารเร็วและมาก
เจริญเติบโตเร็วกว่าเด็กคนอื่น
น้ำหนักกดลงเข่า
ผลกระทบ
ด้านร่างกาย
มีระดับหายใจและไขมันในเลือดสูง
มีคลอเลสเตอรอลสูง
มีความดันโลหิตและระดับไขมันในเลือดสูง
มีภาวะดื้อต่ออินซูลิน
การผ่าตัดหายช้า
ด้านจิตใจ
อารมณ์แปรปรวน
เสียความมั่นใจ
ด้านการเรียน
การเรียนต่ำกว่าปกติ
การพยาบาล
ประเมินหาสาเหตุ
วัดสัดส่วนของร่างกาย
วัดสัญญาณชีพ
ติดตามผลทางห้องปฎิบัติการ
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบทางเดินอาหารที่รักษาโดยการผ่าตัด
Pyloric stenosis
อาการ
ส่วนใหญ่ 3- 6 สัปดาห์ อาเจียนเป็นนม
ที่จับตัวเป็นก้อน (curd) สีขาว กลิ่นเปรี้ยว
น้ำหนักลด อ่อนเพลีย มีภาวะขาดอาหารและน้ำ
ท้องผูก
การวินิจฉัย
ทำ upper gastrointestinal series
การรักษา
แก้ไขภาวะขาดน้ำ ก่อนผ่าตัและอิเลคโทรไลต์ก่อนทำการผ่าตัดRamsted Pyloromyotomy
การพยาบาล
ระยะก่อนผ่าตัด
มีภาวะขาดน้ำ สารอาหารจากการอาเจียน
พ่อแม่วิตกกังวลไม่เข้าใจเกี่ยวกับการรักษา
ระยะหลังผ่าตัด
ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัด
โรคลำไส้กลืนกัน( Intussusception )
สาเหตุ
พบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง อายุ 3-24 เดือนไม่เกิน 2 ปี พบในเด็กที่สมบูรณ์เเข็งแรง
เกิดจาก
การติดเชื้อเรื้อรังของลำไส้ และทารกที่ถุงโป่งที่ผนังลำไส้ส่วนปลาย
พยาธิสภาพ
การกืนกันของลำไส้ทำให้ลำไส้อุดตันเมื่อคลำหน้าท้องใต้ชายโครงขวาพบเหมือนไส้กรอกทำให้อักเสบ บวม เลือดไปเลี้ยงลดลง เกิดเนื้อตายเลือดออก มีารฉีกขาดของผนังลำไส้และเยื่อบุช่องท้อง
อาการ
อาเจียนเป็นอาหารเก่า
ปวเท้องเป็นพักๆ ร้องกวน เกร็งแขนขา
อุจจาระเป็นมูกเลือดหรือเลือดสด
คลำหน้าท้องใต้ชายโครงขวาจะเหมือนไส้กรอก
มีไข้ ชีพจรเบาเร็ว ท้องอืด
การรักษา
รักษาอาการขาดน้ำ
ภาย12-24 ชม.ต้องทำให้ลำไส้คลาย
สวนด้วย barium Hydrostatic Pressure Reduction
สวนด้วยแรงดันอากาศใส่ลมความดัน 80-120 mmHg
การผ่าตัด Surgical manipulation
การรักษา
ก่อนผ่าตัด
NPO
on NG tube ต่อ Contineuous suction
ติดตามสัญญาณชีพ
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
หลังผ่าตัด
NPO.ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
I/O
เฝ้าระวังลำไส้ทะลุุ
on NG tube ต่อ Contineuous suction
ให้ Antibiotic
ลำไส้ใหญ่โป่งพองแต่กำเนิด( (Hirschsprung’s disease)
พยาธิสภาพ
เกิดจากการขาดเซลล์ปมประสาทพาราซิมพาเทติคมาเลี้ยงผนังลำไส้ ลำไส้จึงไม่มีการเคลื่อนที่และเกิดการอุดตันและเกิดเป็นลำไส้โป่งพอง
อาการแสดง
ท้องผูก
ขี้เทาช้า
ท้องอืด
อาเจียนเป็นสีน้ำดีปนหายใจลำบาก
เบื่ออาหาร
อ่อนเพลีย
ขาดอาหารเนื่องจากการอุดตันของลำไส้
การรักษา
การรักษาแบบพยุงอาการ
การสวนล้างลำไส้ด้วยน้ำเกลือทุกวันจำนวน 20 มิลลิลิตร/กิโลกรัมไม่เกิน 50 มิลลิลิตร/กิโลกรัม
การรักษาโดยการผ่าตัด
Colostomy ทั่วๆไปจะรอให้ทารกอายุประมาณ 1 ปี หรือน้ำหนักประมาณ 8 -10 กก. จึงจะนำผู้ป่วยมาทำผ่าตัดเพื่อการรักษา
Definitive Surgery
การตัดเอา colon บางส่วนออกแล้วต่อกับ rectum ส่วนปลายเพื่อให้เด็กสามารถถ่ายอุจจาระและกลั้นอุจจาระได้ก่อนทำต้องสนอุจจาระอย่างน้อย 2 ครั้ง
แบ่งออก 4 วิธี
Duhamal Operation
Soave's Operation
Swenson Operation
.Transanalendorectal pull through
การพยาบาล
เตรียมความพร้อมของพ่อแม่เพื่อดูแลเด็กที่ทำ colostomy
เตรียมร่างกายเด็กให้พร้อมใการผ่าตัด และ เตรียมพ่อแม่ให้มีความรู้ในการดูแลเด็กอย่างต่อเนื่อง
เตรียมร่างกายและจิตใจผู้ป่วยก่อนเข้ารับการผ่าตัด
เตรียมความพร้อมพ่อแม่ในการดูแลเด็กเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
นางสาวอรณา สุทธิเชชษฐ์ รุ่น 36/2 เลขที่ 57 รหัสนักศึกษา 612001138