Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 เรื่องการนำผลการวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล, นางสาวกัญธิมา …
บทที่ 11 เรื่องการนำผลการวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
ความหมาย
(Research utilization: RU)
การนำผลการวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติ คือ การนำสิ่งที่ค้นพบจากการศึกษาวิจัยหรือหลักฐานเชิงวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติ
(Evidence-based practice: EBP)
การปฏิบัติโดยอิงหลักฐานเชิงประจักษ์คือ การตัดสินใจในการนำหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ดีที่สุดมาใช้ในคลินิก ซึ่งส่วนใหญ่มาจากงานวิจัย แต่ในบางกรณีสามารถนำมาจากแหล่งข้อมลูที่เชื่อถือได้เช่น ประสบการณ์ในคลินิก
ประเภทของการนำผลการวิจัยไปใช้
การนำผลงานวิจัยไปใช้โดยตรง
ไม่มีการดัดแปลง หรือประยุกต์เช่น การนวดเท้าเพื่อลดความเครียดในผู้ป่วย
การประยุกต์ใช้ผลงานวิจัย
การดัดแปลงหรือประยุกตุความรู้จากผลการวิจัย เช่น การใช้เครื่องมือวัดพฤติกรรมสุขภาพของประชาชนทั่วไปแล้วดัดแปลงไปใช้ในหญิงตั้งครรภ
การใช้ผลงานวิจัยทางอ้อม
การสะสมและเพิ่มพูนความรู้ที่ได้รับจากผลการวิจัย เช่น การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติงาน สร้างคู่มือ
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการนำผลการวิจัยไปใช้
Roger theory of diffusion of
innovation (1995) Roger
Decision stage การตัดสินใจที่จะรับเอาข้อค้นพบนี้ไปใช้หรือไม่
1.Knowledge stage การตระหนักว่ามีข้อค้นพบที่เป็นความรู้ใหม
Implementation stage การนำผลการวิจัยไปใช้
Confirmation stage
การทดสอบประสิทธิผลของการนำข้อค้นพบไปใช้ก่อนตัดสินใจว่าจะนำไปใช้ต่อไปหรือไม่
Persuasion stage การเกิดความรู้สึกเชื่อในข้อค้นพบจากผลการวิจัยว่าสามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงได้
กระบวนการหรือขั้นตอนการนำผลการวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติ
4.การประเมิน/วิเคราะห์ผลงานวิจัยและรวบรวมอย่างเป็นระบบ
2.สืบค้นหางานวิจัยจากระบบฐานข้อมลู
6.วางแผนและนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
7.ประเมินผลการนำไปใช้
3.คัดเลือก/ คัดสรรงานวิจัย
5.ตัดสินใจเลือกข้อค้นพบที่จะนำมาใช้ในการแก่ปัญหา หรือพัฒนา
1.การระบุปัญหา หรือเรื่องที่ต้องการแก่ปัญหา/ พัฒนา
การประเมินและการวิพากษ์รายงานวิจัย
1.ทฤษฎีหรือแนวคิดงานวิจัยมีทฤษฎีหรือแนวคิดใดในการศึกษา
2.ระเบียบวิธีวิจัย วิเคราะห์ความเหมาะสมของการออกแบบการวิจัย การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
3.จริยธรรม และจรรยาบรรณของนักวิจัย
5.การนำเสนอและรูปแบบการนำเสนอ
4.การแปลผลการวิจัยจะต้องพิจารณาความถูกต้องเหมาะสมของการแปลผล
แนวทางในการแก่ไขอุปสรรคในการนําผลงานวิจัยไปใช
นักวิจัย ควรเป็นผู้รับผิดชอบนำผลการวิจัยไปใช้ โดยมุ่งเน้นใช้ผลงานที่มีคุณภาพ
ผู้บริหารสนับสนุนบุคลากรในการค้นหาความรู้และนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน
หลักสูตรการศึกษาต้องมีการจัดหลักสูตรที่มีการเรียนเกี่ยวกับการศึกษาวิจัย
การเผยแพร่ผลงานวิจัย ควรสนับสนุนให้มีการทำวิจัยและเผยแพร่ในหลายๆ
เกณฑ์การเลือกผลการวิจัยที่จะนำมาใช้
การทดลองซ้ำ (Replication) การวิจัยที่มีการทําซ้ำหลายๆ
ระเบียบวิธีวิจัยที่มีความเป็นวิทยาศาสตร์ (Scientific merit)
โอกาสเสี่ยง (Risk)
ความเป็นไปได้ในการนำผลการวิจัยมาใช้ทางคลินิก (Clinical merit)
ความเป็นอิสระในการนำผลการวิจัยไปสู่การปฏิบัติ (Clinical control)
ความคุ้มทุนเมื่อเทียบกับประโยชน์ที่ได้รับ (Cost/ Benefit Ratio)
ความสมเหตุสมผล (Feasibility)
ประเมินผลในทางปฏิบัติได้หรือไม่ (Potential for clinical evaluation)
อุปสรรคของการนำผลการวิจัยไปใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
ด้านการสื่อสาร
งานวิจัยเขียนเป็นภาษาอังกฤษ
รายงานผลการวิจัยไม่ชัดเจน และเข้าใจยาก
ตำราหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยไม่ได้รวบรวมไว้ในที่เดียวกัน
ไม่เข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์ทางสถิติในงานวิจัย
ด้านองค์กร
ไม่มีอำนาจเพียงพอที่จะเปลี่ยนแปลงวิธีการดูแลผู้ป่วย
ขาดแหล่งสนับสนุนหรือสิ่งเอื้ออำนวยความสะดวก
เวลาในการทำงานมีไม่มากพอที่จะนำแนวคิดใหม่ไปลงมือปฏิบัติ
ไม่มีเวลาที่จะอ่านงานวิจัย
ด้านพยาบาลและงานวิจัย
ไม่มีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้ร่วมงานที่มีความรู้ด้านการวิจัย
การลงพิมพ์เผยแพร่รายงานการวิจัยยังไม่แพร่หลายและทันต่อเหตุการณ
นางสาวกัญธิมา กลมกล่อม รหัส 613101005