Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย, นางสาวณัฏฐ์ดารินทร์ นิลศรีสนิท…
แนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย
การพยาบาลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การเจ็บป่วยและการอยู่ในโรงพยาบาลของเด็ก
ส่งผลกระทบระยะยาวต่อด้านร่างกายของเด็ก
ปฏิกิริยาโต้ตอบต่อวิกฤตการของเด็กจะเป็นไปตาม พัฒนาการ
พยาบาลต้องมีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยความตายของเด็ก
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ประเภท 0 ตอบเเบบไม่เข้าใจ ไม่สามรถจะให้คะแนนได้
ประเภท 1 ตอบตามปรากฎการณ์ อธิบายไม่ได้ว่าความเจ็บป่วยเกิดขึ้นได้อย่างไร
ประเภท 2 สาเหตุของการเจ็บป่วยเกิดจากการติดต่อ
ประเภท 3 การปนเปื้อน สามารถบอกถึงสาเหตุการเจ็บป่วย
ประเภท 4 ภายในร่างกาย
ประเภท 5 ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดี
ประเภท 6 เข้าถึงสาเหตุของการเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขั้นสูงสุด
ปฏิกิริยาของเด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ความวิตกกังวลเนื่องจากการเเยกจาก
ระยะประท้วง เด็กจะร้องไห้อย่างรุนเเรง
ระยะสิ้นหวัง จะเเสดงความเศร้าเสียใจ
ระยะปฎิเสธ จะไม่ไว้ใจพ่อแม่อีกต่อไป
พฤติกรรมถดถอย เป็นการปรับตัวที่จะใช้พฤติกรรมเดิมที่เด็กพอใจ
การสูญเสียการควบคุมตัวเอง เด็กจะมีการต่อต้านอย่างรุนเเรง
การบาดเจ็บและความเจ็บปวด จะเเสดงการกลัวเจ็บกลัวตาย
ครอบครัวของผู้ป่วยเด็ก
เกิดความวิตกกังวล
การฟังมักผิดเพี้ยน
มักมีคำถามซ้ำๆ
ไม่เข้าใจบทบาทตนเองเมื่ออยู่โรงพยาบาล
มีปัจจัยต่อปฏิกิริยาโต้ตอบและการปรับตัวดังนี้
ความรุนเเรงของการรักษา
ประสบการณ์เกี่ยวกับความเจ็บป่วย
วิธีที่วิเคราะห์โรคและการรักษา
ปัจจัยการช่วยเหลือค้ำจุน
ความเข้มเเข็งของบิดามารดา
ความสามารถในการปรับตัวครั้งก่อน
ความเครียดที่เพิ่มขึ้น
ความเชื่อถือเกี่ยวกับศาสนา
แบบแผนการสื่อสารของสมาชิกครอบครัว
ปฏิกิริยาของบิดามารดา ต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ปฏิเสธ ไม่เชื่อ ในระยะเเรก
โกรธและโทษตัวเอง
รู้สึกกลัวเเละกังวล
หงุดหงิดเเละคับข้องใจ
รู้สึกเศร้า
แนวคิดเเละหลักการพยาบาลใช้ครอบครับเป็นศูนย์กลาง
การตระหนักและการเคารพ ยอมรับในความแตกต่าง
การร่วมมือ
การสนับสนุน
หลักการ
1.เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างครอบครัวเเละแพทย์
3.มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและสมบูรณ์
4.เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ
5.ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดเเข็ง
6.ลงมือสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหา
7.เคารพและยอมรับในความหลากหลายของวัฒนธรรม
8.กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครื่อข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการให้มีความยืดหยุ่น เข้าถึงได้ เเละตอบสนองความต้องการของครอบครัว
บทบาทของพยาบาล
เสริมสร้างความสามารถของครอบครัว
เสริมสร้างพลังแก่ครอบครัวในการควบคุมชีวิต
มีการเเลกเปลี่ยนเรียนรู้
พยาบาลสร้างกลไกความสำพันธ์เเบบหุ้นส่วนกับครอบครัว
การจัดการพยาบาล
1.ประเมินและวินิจฉัยทางการพยาบาล
2.การวางแผนและการดำเนินการ
จัดสิ่งแวดล้อม
อำนวยความสะดวก
การประสานงาน
การสื่อสาร
ให้การพยาบาลตามระยะการพัฒนาของเด็ก
3.การประเมินผล การให้การพยาบาลเป็นระยะๆ
หลักการพูดคุยกับเด็กเรื่องความตาย
สร้างสัมพันธภาพที่ดี
พูดคุยให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
ใช้การอธิบายในรูปแบบอื่นๆ
เปิดโอกาศให้เด็กได้ซักถามหรือเล่าถึงความรู้สึกของตนเอง
ในเด็กโตเปิดให้ร่วมในการตัดสินใจ
ช่วยให้เด็กเข้าใจว่ายังไงเด็กยังคงเป็นที่รักเสมอ
เด็ก
หมายถึง
คนที่มีอายุยังน้อย
ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
อายุเกิน 7 ปีบบริบูรณ์ แต่ยังไม่เกิน 14 ปี
มีอายุตั้งแต่15 ปีลงมา
อายุยังไม่เกิน 18 ปีบริบูรณ์
ความหมายด้านสุขภาพ
หมายถึงบุคคลตั้งแต่แรกเกิดถึง 15 ปี
ช่วงวัยของเด็กแบ่งตามระยะพัฒนาการ
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Infant ทารกอายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
Toddler เด็กวัยเดินอายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
สิทธิเด็ก
สิทธิในการมีชีวิต คือเมื่อคลอดออกมาเเล้วต้องมีชีวิตอยู่อย่างปลอดภัย
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง จาดการทารุณกรรมทุกรูปแบบ
สิทธิด้านการพัฒนา มีความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับพัฒนาการ
สิทธิในการมีส่วนร่วม ในการแสดงออกในด้านต่างๆ
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลัน ในทันที รุนเเรงมาก
ระยะเรื้อรัง ไม่หายขาด
ระยะวิกฤต มีโอกาศเสียชีวิต
ระยะสุดท้ายใกล้ตาย ได้รับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นเสียชีวิต
การพยาบาลเด็กระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Separation anxiety
Pain management
Critical care concept
Stress and coping
การพยาบาลเด็กระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
Pain assessment
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง.
เครื่องมือที่ใช้ประเมิน pain ในเด็ก
การประเมินความเจ็บปวดควรถามเกี่ยวกับ
บความรุนแรงของความปวด
ตำแหน่งที่ปวด
ปแบบระยะเวลาความเจ็บปวด
ลักษณะการเจ็บปวดะเจ็บปวด
ผลกระทบต่อความปวด
ัจจัยที่ทำให้ปวดมากขึ้น ลดลง
CRIES Pain Scale
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
CHEOPS (Children's Hospital of Eastern Ontario Pain Scale)
FLACC Scale (Face; Legs; Activity; Cry; Consolability Scale)
Faces scale
Numeric rating scales
Faces scale
คือการใช้รูปภาพแสดงสีหน้าความรู้สึกปวด
เริ่มใช้ตั้งเเต่ไม่ปวดแทนด้วยสีหน้ายิ้ม
ปวดพอทนใช้สีหน้านิ่วคิ้วขมวด
ปวดมากที่สุดแทนด้วยหน้าที่มีน้ำตาไหล
นิยมใช้กับเด็กหรือคนชรา
หลักการประเมินความปวด
ผู้ประเมินต้องมีความรู้และทักษะในการประเมินโดยยึดหลักนี้
ประเมินก่อนให้การพยาบาลเพื่อเป็นสมมติฐานและหลังให้การพยาบาลเพื่อประเมินผล
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่องโดยประเมินทั้งขณะพักและขณะทำกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละรายและควรใช้วิธีเดียวกันตลอดการให้การพยาบาลนั้น ๆ
เด็กเล็ก, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่องหรือไม่สามารถสื่อสารได้ควรดูแลเป็นพิเศษเนื่องจากการประเมินอาจได้ข้อมูลไม่ครอบคลุมหรือไม่ถูกต้องทั้งหมด
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
หลีกเลี่ยงคำถามนำอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริงหรือคำถามที่กระตุ้นให้เกิดอารมณ์เศร้าเสียใจ
บทบาทของพยาบาลกับการประเมินความปวด
สร้างสัมพันธภาพที่ดีใช้คำพูดสุภาพเข้าใจง่าย
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดีและเชื่อในคำบอกเล่าของผู้ป่วย
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรมแนวคิดสภาพอารมณ์จิตใจและบุคลิกภาพของผู้ป่วยเพื่อเป็นข้อมูล
ผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิดถ้าเป็นเด็กเล็กอาจถามจากบิดามารดาหรือสังเกตพฤติกรรมและผลกระทบที่เกิดจากความปวดเช่นผู้ป่วยที่ยังไม่รู้สึกตัวดีครึ่งหลับครึ่งตื่นหรือผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้ายเป็นต้น
นางสาวณัฏฐ์ดารินทร์ นิลศรีสนิท รุ่น 36/1 เลขที่ 44 รหัส 612001045