Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Pressure cycled ventilator ควบคุมด้วยความดันลม
Volume cycled ventilator ควบคุมด้วยปริมาตรลม
Time cycled ventilator ควบคุมด้วยเวลาการหายใจเข้า
Flow cycled ventilator ควบคุมด้วยปริมาตรการไหลของลม
วงจรพื้นฐานของเครื่องช่วยหายใจ
Gas inlet คือตำแหน่งที่ก๊าซป้อนเข้าเครื่อง แบ่งออกเป็นสองทาง คือทางเข้าของออกซิเจนและทางเข้าของอากาศ โดยความดันของก๊าซที่เข้ามานี้จะต้องเป็นความดนัเท่ากับ 50 Psi
Machine หรือตัวเครื่อง หลังจากที่ออกซิเจนและอากาศเข้ามาในเครื่อง เครื่องจะผสมออกซิเจนกับอากาศตามสัดส่วนที่ตั้งไว้ เพื่อให้ได้ค่า FiO2 ตามที่ตั้งไว้
เครื่องทำความชื้น (nebulizer or humidifier) เนื่องจากอากาศที่ออกจากเครื่องเป็นอากาศที่แห้ง ดังนั้นจึงต้องทำให้เกิดความชื้นก่อน
Heated humidifier เป็นเครื่องผลิตความชื้นในรูปไอน้ำ ขนาดละอองเล็ก
Simple jet nebulizer เป็นเครื่องผลิตฝอยละออง aerosol
Inspiratory pathway เป็นท่ออากาศออกจากเครื่องทำความชื้นเพื่อส่งเข้าสู่ปอดต่อไป
Expiratory pathway เป็นท่อนำอากาศที่ออกจากปอดเพื่อทิ้งออกสู่บรรยากาศ
Expiratory valve เป็นลิ้นซึ่งเปิดปิดได้ตามจังหวะการหายใจและติดตั้งอยู่ปลายทาง expiratory pathway
วิธีการช่วยหายใจ
Control mechanical ventilation (CMV)
เป็นวิธีการช่วยหายใจที่เครื่องจะทำงานแทนผู้ป่วยทั้งหมด
Assist Control ventrilation (A/C)
เป็นการช่วยหายใจแบบที่เครื่องช่วยหายใจถูกกระตุ้นโดยการหายใจของผูป่วยบางส่วนหรือทั้งหมด
Intermittent mandatory ventilation (IMV)
เครื่องจะทำงานให้ mandatory ventilation breath ในอัตราที่ตั้งไว้คงที่
ผู้ป่วยสามารถหายใจ Spontaneous ระหว่าง Mandatory breath
Synchonized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
เครื่องให ้IMV ให้สัมพันธ์กับช่วงที่ผู้ป่วยเริ่มหายใจ กระตุ้นเครื่อง
Pressure Support Ventilation (PSV)
เครื่องจะให้ flow จนถึงระดับ pressure ที่ตั้งไว้ผูป่วยเป็นคนกำหนด
Tidal volume
Rate
เวลาในการหายใจเข้า
Continuous Positive Airway Pressure (CPAP)
เป็น Spontaneous breath ทั้งหมด
เครื่องให้อากาศตลอดเวลา
ความผิดปกติจากการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ
ระบบการต่อของเครื่อง
อาการแสดง
Alarm low inspiratory pressure
Alarm low Exhale tidal volume / Low Exhale MV
สาเหตุที่พบได้บ่อย
สายชุดช่วยหายใจหลุดจากผู้ป่วย
สายชุดช่วยหายใจรั่ว
กระป๋องดักน้ำปิดไม่สนิท ปีนเกลียว รั่ว
การแก้ไข
ตรวจสอบระบบสายชุดช่วยหายใจจากผู้ป่วยสู่เครื่อง
ความผิดปกติของการทำงาน
อาการแสดง
Alarm low O2 / air inlet
Alarm Ventilator back up
สาเหตุ
Gas หมด รั่ว,ระบบขัดข้อง
การแก้ไข
งดใช้งาน ช่วยหายใจให้ผู้ป่วยด้วย Self inflating bag
ระบบการเตือนความผิดปกติ
อาการแสดง
Alarm high pressure limit
Alarm high MV / high RR ( respiration rate )
สาเหตุ
แรงดันสูงกว่าที่กำหนดจากผู้ป่วยกัดท่อช่วยหายใจ ผู้ป่วยไอ เสมหะอุด ตันในท่อช่วยหายใจ
ผู้ป่วยหายใจหอบ อัตราการหายใจมากกว่า 30-40 ครั้ง/นาที
การแก้ไข
ตามสาเหตุดูดเสมหะใหผู้ป่วย ใส่อปุกรณป์องกันการกัดท่อช่วยหายใจ ตรวจสอบการตั้งค่า high pressure limit
การปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
อาการแสดง
Alarm high pressure limit
Alarm high respiratory rate
Alarm low insp. Pressure
Alarm I:E
Alarm low PEEP/CPAP
Alarm low Exhale TV / low Exhale MV
สาเหตุ
เกิดจากการตั้งค่าต่างๆที่กล่าวมาแล้วไม่เหมาะสมกับผู้ป่วยรายนั้นๆ
การแก้ไข
ตรวจสอบการตงั้ค่าต่างๆว่าสัมพันธ์กับการร้องเตือนของเครื่องและอาการแสดงของผู้ป่วยหรือไม่
ระบบความชุ่มชื้น
อาการแสดง
มีน้ำขังในสายมาก
ไม่มีน้ำขังในสายเลย สายดูแห้งสนิท ไม่มีไอน้ำเกาะ
สาเหตุ
อณุหภูมิใน chamber สูงมาก
ไม่มีน้ำใน chamber
การแก้ไข
ตรวจสอบน้ำใน chamber ว่าอยู่ในระดับหรือไม่
การหย่าเครื่องช่วยหายใจประกอบด้วย
ขั้นตอนการหย่าจากการช่วยหายใจของเครื่อง
ขั้นตอนการหย่าจากออกซิเจน
เกณฑ์การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Clinical factors
Pulmonary gas exchange
Pulmonary mechanics
ความพร้อมทางด้านจิตใจ
ระดับความรู้สึกตัวดี
ไม่มีภาวะทุพโภชนาการ
ใช้ยานอนหลับหรือยาแก้ปวดลดลง
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Conventional T- piece method
single T- piece trial
Intermittent T- piece trial
Intermittent mandatory ventilation ( IMV )
เพิ่ม PEEP ในระบบ IMV ผู้ป่วยหายใจแบบ CPAP ในช่วง spontaneous breathing
เพิ่ม inspiratory pressure support ( IPS )โดยเพิ่มแรงดันบวกในช่วง spontaneous breathing
Pressure support ventilation ( PSV )
IPS ที่ต่ำกว่าค่า PIP ในขณะหายใจแบบ CMV ประมาณ 3 – 5 cmH2o
Continuous positive airway pressure ( CPAP )
เป็นการช่วยหายใจแบบช่วยทำใหทางเดินหายใจมีแรงดันบวกตลอดทางเดินหายใจ ทั้งหายใจเข้าและหายใจออก
การพยาบาลผู้ป่วยขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
อธิบายขั้นตอนการหย่าเครื่องช่วยหายใจให้ผู้ป่วยรับทราบเพื่อการให้ความร่วมมือและพยายามหายใจด้วยตัวเอง
ดูดเสมหะก่อนและใหผู้ป่วยพักหลังดูดเสมหะประมาณ 15 นาที จากนั้นจึงเริ่มการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดให้ผู้ป่วยนั่งศีรษะสูงหรือนั่งหลังตรง
เจาะและส่งตรวจ ABG ไว้เป็นข้อมูลพื้นฐานก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ให้ผู้เริ่มกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจตามวิธีที่เลือกใช้
สังเกตและบันทึกระดับความรู้สึกตัว