Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
จุดประสงค์ของการเจรจาต่อรอง
เพื่อขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
รักษา
ความสัมพันธ์ที่ดีกับอีกฝ่ายหนึ่ง
องค์ประกอบของการเจรจาต่อรอง
การเจราจาต่อรองเป็นกระบวนการที่มีขั้นตอน เริ่มตั้งแต่วิเคราะห์ วางแผน และช่วงเจรจา
ความพยายามที่จะแก้ปัญหา เรื่องที่จะเจรจา คือจุดประสงค์ของการที่ทั้งสองฝุายต้องประชุมตกลงกัน
บุคคลหรือกลุ่มบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปที่มีความคิดเห็น
ความแตกต่าง แต่ละฝ่ายต้องตระหนักว่าทั้งคู่มีความแตกต่างกัน
กระบวนการเจรจาต่อรอง (The negotiation process)
1.ขั้นเตรียมการและวางแผน ( preparation and planning)
2.ขั้นกำหนดกฏกติกาพื้นฐาน (definition of ground rules)
3.ขั้นทำความชัดเจนและหาเหตุผลสนับสนุน (clarification and justification)
4.ขั้นการต่อรองและแก้ปัญหา ( bargaining and problem solving)
5.ขั้นจบการเจรจาและนำไปสู่การปฏิบัติ (closure and implementation)
เทคนิคการเจรจาต่อรอง
การต่อรองแบบนุ่ม
ผู้ต่อรองยินดีเสนอและยินยอมคู่เจราจาในบางประเด็น
มีความไว้ใจกันมองคู่เจรจาเป็นมิตร
การต่อรองแบบแข็ง
ผู้เจรจายึดจุดยืนของตนเป็นหลัก
ข้อดี คือ ข้อตกลงอาจยุติโดยที่ตนเป็นฝ่ายเสียเปรียบ
ข้อเสีย
ทำให้เสียสัมพันธ์ภาพ อาจเกิดการทะเลาะ ปะทะกัน
หัวใจสำคัญในการเจรจาต่อรอง
บุคคล แยกคนออกจากปัญหา
ความสนใจ เน้นเรื่องผลประโยชน์มากกว่าใครแพ้ ใครชนะ
เริ่มต้นด้วยการเปิดฉากเชิงบวก (Begin with a positive overture)
ทางเลือก พยายามหาทางออกหรือทางเลือกอื่น ๆ ก่อนที่จะตัดสินใจสุดท้าย
เกณฑ์ ต้องตกลงกันตามกฏเกณฑ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับของทุกฝ่าย
การตัดสินใจ (Decision making)
ความสำคัญของการตัดสินใจ
ช่วยให้บุคคลสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้บุคคลเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในความสำเร็จของตนเอง
ช่วยลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน
ช่วยให้บุคคลมีความมั่นใจและมีการพัฒนาศักยภาพ
ช่วยให้เกิดแนวทางปฏิบัติที่มีคุณภาพ
ช่วยให้เกิดการประหยัดเวลา แรงงาน ทรัพยากรในการปฏิบัติ
ปัญหาและอุปสรรคต่อการตัดสินใจ
ไม่มีเวลาเพียงพอในการตัดสินใจ
ไม่ได้รับมอบหมายอำนาจในการตัดสินใจเต็มที่
ขาดข้อมูลและข่าวสารที่มีคุณภาพ
ลักษณะนิสัยส่วนตัวชอบปฏิบัติตามคำสั่ง
ขาดความรู้และประสบการณ์ในเรื่องที่จะตัดสินใจ
ความยากล ำบากในการคาดการณ์ในอนาคต
เหตุผลทางการเมืองหรือถูกอิทธิพลครอบงำ
ใช้ถ้อยคำกำกวม
งบประมาณมีจำกัด
ค่านิยมทางสังคมและค่านิยมส่วนตัวของผู้ตัดสินใจ
ความรู้ ความสามารถและบุคลิกภาพ ความรับรู้ การตัดสินใจสั่งการ
เป้าหมายส่วนใหญ่มาจากระดับสูง
กระบวนการตัดสินใจ
หาวิธีการแก้ปัญหาวิเคราะห์ทางเลือก
พิจารณาถึงผลดีผลเสียของแต่ละวิธี
เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
เลือกวิธีที่ดีที่สุดไปใช้
การระบุปัญหาหรือกำหนดปัญหา
ดำเนินการสั่งการ
ประเมินผลการตัดสินใจ
การบริหารเวลา
ระบบการบริหารเวลา (Time Management System)
การกำหนดความสำคัญ (Set Priorities)
B = มีความหมายสำคัญเช่นกัน ถ้ามีเวลาก็ควรทำ
C = ถ้าไม่ทำขณะนี้คงไม่เป็นไร เมื่อทำอย่างอื่นเสร็จแล้วจึงค่อยทำงาน
A = มีความสำคัญมากต้องทำก่อน
การวางแผน (Planning)
ยึดหลัก ๔W (The Who What Where and When)
ทรัพยากรทางการบริหารที่ต้องการ (Resources Needed)
ลำดับงานที่จะทำ (The Sequence)
การติดตามผล (Follow – Up Required)
แผนสำรอง (Contingency Plans)
การปฏิบัติตามตารางเวลาที่กำหนด (Protecting Schedule Times)
การปฏิบัติตามตารางการ
ทำงานที่กำหนดไว้ในแผน
กลยุทธการบริหารเวลา
ผู้บริหารที่ไม่มีเวลา
เป็นผู้บริหารที่มักจะใช้เวลาการทำงานส่วนใหญ่เกี่ยวกับการประชุม
มีการใช้โทรศัพท์
ติดต่องานน้อยมาก
ผู้บริหารที่มีเวลา
ใช้เวลาส่วนใหญ่ในการวางแผนการประชุม
ใช้โทรศัพท์ติดต่องาน
เวลาที่เหลืออีกส่วนหนึ่งสำหรับคิดในเรื่อง
ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงาน
การบริหารความขัดแย้ง
ผลทางลบ
ไม่ยอมรับซึ่งกันและกัน
ขาดความคิดริเริ่มใหม่ๆ
ไม่ได้รับความร่วมมือ
คุณภาพการตัดสินใจต่ำ
การสื่อสารถูกบิดเบือนไม่ทั่วถึง
อาจทำให้ผู้บริหารใช้อำนาจเป็นเผด็จการมากขึ้น
ผลทางบวก
การควบคุมการปฏิบัติงานจะดีขึ้น
ความรอบคอบ ความมีเหตุมีผลในการแก้ปัญหา
เกิดความคิดริเริ่มใหม่ๆ ในการทำงาน
เกิดการพัฒนาวิธีการทำงานใหม่ๆ
ประเภทของความขัดแย้ง
ความขัดแย้งตามแนวนอน (Horizontal Conflict)
ความขัดแย้งตามแนวทแยงมุม (Diagonal Conflict)
ความขัดแย้งตามแนวตั้ง (Vertical Conflict)
สาเหตุของความขัดแย้ง
บทบาทไม่ชัดเจน
เป้าหมายการทำงาน
ผลประโยชน์
อำนาจ
การเปลี่ยนแปลง
การบริหารความขัดแย้ง
การประนีประนอม (Compromise)
การประสานประโยชน์ (Integrated Solution)
การชนะ–แพ้ (Domination)
การเสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment)
ความสำคัญของการเสริมสร้างพลังอำนาจ
ความสำคัญต่อบุคคลในองค์กร
การเสริมสร้างพลังอำนาจบุคคลระดับผู้ปฏิบัติงาน
การเสริมสร้างพลังอำนาจระดับผู้บริหาร
ความสำคัญต่อทีมงาน
ความสำคัญต่อระดับองค์กร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารการพยาบาล
บุคลากร
ความไว้วางใจในองค์กร
ผู้บริหารองค์กร
ลักษณะงาน
วัฒนธรรมองค์กร
สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง
ระบบโครงสร้างองค์กร