Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา - Coggle Diagram
ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา
พระพุทธเจ้าประทานควมเป็นใหญ่แก่สงฆ์
เมื่อมีผู้มาขอบวชมากขึ้น
พระพุทธเจ้าทรงเลิกระทาน
อุปสมบทพระองค์เอง
ถ้ามีการคัดค้านเพียงหนึ่งเสียงการอุปสมบทเป็นโฆฆะ
พระเจ้าเองก็ทรงเคารพพระสงค์
เมื่อประทานความเ็นใหญ่หรือความเป็นอธิปไตยให้
แก่พระสงฆ์แล้พระองค์เองก็มิได้ทงถือว่าเป็นศาสดา
ผู้ควรชี้ขาดบงการ
พระสงฆ์โดยภาพรวมมีความสำคัญยิ่งกว่าคณะบุคลใดทั้งหมด
พระสงฆ์มีความสำคัญกว่าพระศาสดาในฐานะปันจกชนและตรัสไว้วา
"การถวายทานแก่พระพุทธเจ้ามีผลสู้การถวายแก่พระสงฆ์"
กิจกรรมของสงฆ์
ภิกษทุกรูปจะต้องถือเป็นเรืองกิจกรรมที่สำคัญ
ในพระพุทธศาสนาของพระภิกษุเช่น
การประชุมทำอุโบบสถสังฆราชเพื่อตรวจสอบทบทวนการพฤติ
ปฎิบัติตามระเบียบวินัยภิกษุผู้เป็นสมาชิกทุกรูปจะต้องเข้าประชุมพร้อมเพรียงกัน
การตัดสินปัญหาที่มีความคิดเห็นแตกออกเป็นสองฝ่าย
การตัดสินปัญหาในที่ประชุมสงฆ์ที่มีความคิดเห็นแตกเเยก
แบ่งออกเป็นสองฝ่ายจะต้องมีการลงคะแนน
เพื่อดูว่าเสียงข้างมากไทางไหน
วิธีนี้เรียกว่า "ไยภูยสิกา"
กิจของพระภิกษุขณะประชุม
ถ้าภิกษุรูปใดรูปหนัชึ่งมีธุระด่วน
เช่น สรีรกิจ (ขอไปถ่ายปัสสาวะหรืออุจจาระ)
จะต้องลุกออกจากที่ประชุม
ในการกระทำสังฆกรมต่างๆพระสงฆ์ยึดถือประโยชน์สุขของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
ภิกษุทุกรูปทชมีสิทธิในการเข้าประชุม
ภิกษุทุกรูปมีสิทธิในการเเสดงความคิดเห็น
ภิกษุทุกรูปต้องเข้าการประชุม
ภิกษุทุกรูปจำเป็นที่จะต้องเข้าร่วมการปประชุม
ถ้าเข้าประชุมไม่ได้ เช่น อาพาธจะต้องมอบฉันทะไปประกาศแก่สงฆ์
ว่า "ท่าน....มาประชุมไม่ได้จึงขอมอบฉันทะ"