Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Electronic fetal monitoring - Coggle Diagram
Electronic fetal monitoring
เครื่องมือ
Tocodynamometer หรือ tocometer
จะเป็นส่วนที่วางอยู่บนหน้าท้องมารดาบริเวณยอดมดลูกเพื่อประเมินความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
ultrasonic transducer
สาหรับฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกจะเป็นส่วนที่วางอยู่บนหน้าท้องบริเวณหัวใจทารก เพื่อประเมินการเต้นของหัวใจและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเมื่อมีการหดรัดตัวของมดลูก
การเต้นของหัวใจทารกและคำต่างๆที่เป็นสากล
Baseline features (ในช่วงที่มดลูกไม่หดรัดตัว)
Baseline fetal heart rate ปกติ 110 – 160 ครั้ง/นาที
Tachycardia > 160 ครั้ง/นาที
Bradycardia < 110 ครั้ง/นาที
Variability อัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลง
Absent : ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
Minimal : มีการเปลี่ยนแปลง 0 ถึง 5 beat / min
Moderate : มีการเปลี่ยนแปลง 6 ถึง 25 beat/min
Marked : มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า 25 beat/min
การที่ variability ลดลงหรือหายไปแสดงถึง บางส่วนของสมองหยุดส่งกะแสไฟฟ้ากระตุ้นการทางานของหัวใจทารกพบใน
ทารกได้รับยากดประสาทเช่น Pethidine, Morphine, Phenobarb
ทารกหลับ คลอดก่อนกาหนด
ความพิการของหัวใจ หรือศรีษะ เช่น anencephaly
มีภาวะ brain hypoxia
Periodic change มี 2 แบบ
acceleration การเพิ่มขึ้นของ FHR
อายุครรภ์ > 32 สัปดาห์ มากกว่าหรือเท่ากับ 15 bpm
นานกว่า 15 วินาที
อายุครรภ์ < 32 สัปดาห์ เพิ่มขึ้น 10 bpm
นานกว่า 10 วินาที
deceleration
Late deceleration
การลดลงของ FHR ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกการลดลง ถือเป็นความผิดปกติ เชื่อว่าเกิดจากทารก hypoxia
Variable deceleration
การลดลงของ FHR โดยอาจจะสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกหรือไม่ก็ได้ ไม่นานเกิน 2 นาที เกิดจากสายสะดือถูกกด พบใน prolapse cord หรือ น้าคร่าน้อย
Early deceleration
การลดลงของ FHR สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก พบได้ตอนท้ายของการเจ็บครรภ์คลอด เชื่อว่าเป็น reflex เกิดจากการที่ศรีษะทารกถูกกด
Prolonged deceleration
การลดลงของ FHR นานอย่างน้อย 2 นาที แต่ไม่ถึง 10 นาที การแก้ไข : ตรวจสอบหาการพลัดต่าของสายสะดือ
หลักการดูแลทารกที่มีการเต้นของหัวใจผิดปกติ
เพิ่ม uterine blood flow โดยการจัดท่ามารดา ให้สารน้าทางเส้นเลือด ช่วยลดความกังวลใจให้กับมารดา
เพิ่ม umbilical circulationโดยการจัดท่ามารดา การตรวจภายในดันส่วนนาของทารกเพื่อลดการกดสายสะดือถ้าเกิดภาวะสายสะดือย้อย
เพิ่ม oxygen saturation โดยการจัดท่ามารดา ให้ออกซิเจนแก่มารดา และสอนวิธีการหายใจที่ถูกต้องในระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
ลด uterine activity โดยปรับเปลี่ยนการให้ยาที่เหมาะสม จัดท่ามารดาให้สารน้าทางเส้นเลือด และสอนวิธีการการเบ่งคลอดที่ถูกต้อง
Non-Stress Test (NST)
Reactive
มี acceleration (การเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 15 ครั้ง/นาที และคงอยู่นานอย่างน้อย 15 วินาที เมื่อทารกเคลื่อนไหว โดยบันทึกการตอบสนองดังกล่าวได้อย่างน้อย 2 ครั้งภายใน 20 นาที)
baseline FHS ระหว่าง 120-160 ครั้ง/นาที
มี long term variability ที่ปกติ (6-25 bpm.)
ไม่มี deceleration ของการเต้นของหัวใจทารก
Suspicious
มีการเพิ่มของอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 2 ครั้งหรืออัตราการเพิ่มขึ้นน้อยกว่า 15 ครั้ง/นาที และอยู่สั้นกว่า 15 วินาที เมื่อมีทารกดิ้น แต่กราฟที่ได้ต้องมี long term variability ที่ดี
Non-reactive
ผลที่ได้จากการทดสอบไม่ครบตามข้อกาหนดของ reactive NST ในระยะเวลาของการทดสอบนาน 40 นาที
Uninterpretable
คุณภาพของการทดสอบไม่สามารถแปลผลได้ตามข้อกาหนด ควรทาการทดสอบซ้าภายใน 24-48 ชั่วโมง
Contraction Stress test ; CST
การทดสอบดูการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจทารก ในครรภ์ขณะที่มดลูกหดรัดตัว
ถ้ามีภาวะ Uteroplacental insufficiency ทารกอยู่ในภาวะไม่ปลอดภัย FHR pattern เกิด late deceleration ขึ้น
การแปลผล
Suspicious : มี late deceleration แต่ไม่เกิดขึ้นทุกครั้งของการหดรัดตัวของมดลูก หรือมีการลดลงของ FHS ในช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูกร่วมกับมดลูกหดรัดตัวถี่มากเกินไป
Unsatisfactory : เส้นกราฟไม่มีคุณภาพเพียงพอ หรือ UC ไม่ดีพอ
Positive : พบ late deceleration ทุกครั้งในระยะช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูก
Negative : มี UC 3 ครั้งใน10 นาที โดยไม่มี late deceleration
การติดตามผล CST
Negative : ทารกอยู่ในสภาพปกติ แนะนานับลูกดิ้นและตรวจซ้าใน 1 สัปดาห์
Positive : ทารกอยู่ในสภาพพร่องออกซิเจน ช่วยเหลือโดย Intrauterine resuscitation และหยุด Oxytocin ทันที หลังจากนั้น 15-30 นาทีให้ทา CST ซ้า ถ้าผล Positive อีกครั้งควรสิ้นสุดการตั้งครรภ์