Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์, :star:นางพิชญา สานต๊ะ เลขที่ 49 ชั้นปีที่…
โรคเบาหวานร่วมกับการตั้งครรภ์
แบ่งชนิด
gestational diabetes
mellitus (GDM)
A 1
FBS <105mg/dl 2hr-pp <120 mg/dl
รักษา : คุมอาหาร
A2
FBS >105mg/dl 2hr-pp>120mg/dl
รักษา: insulin
ตรวจพบครั้งแรกขณะตั้งครรภ์
pregestational diabetes
mellitus/ overt DM
ได้รับการวินิจฉัยมา
ก่อนการตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยงDM
Low risk
ไม่ต้องคัดกรอง
อายุ< 25 ปี
BMI <25
ไม่มีประวัติ Hx.GDM/คลอดไม่พึงประสงค์/การเผาผลาญ
ไม่มีญาติสายตรงเป็น DM
Moderate risk
คัดกรอง GA24-28wk
อายุ ≥ 30 ปี
มี Hx.คลอดทารก BW>4000 กรัม
เคยคลอดทารกพิการ หรือเสียชีวิตไม่ทราบสาเหตุ
High risk
รีบคัดกรองโดยเร็ว
และซ้ำ GA24-28wk
พบน้ำตาลในปัสสาวะ
อ้วนมาก BMI ≥ 30
เคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ญาติสายตรงเป็น DM
อาการและ
อาการแสดง
polyphagi หิวบ่อย
ketosis (N/V หายใจหอบลึก กระหายน้ำ มีไข้
หายใจมีกลิ่นคีโตน
polyuria ฉี่เยอะ
Polydipsia กระหายน้ำ
Dehydrate รุนแรง: ตาลึกโบ่ ผิวเหี่ยว BP ต่ำ
P เบาเร็ว
weight loss & fatigue
ผลของโรคเบาหวาน
ผลต่อการตั้งครรภ์
การแท้ง
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ครรภ์แฝดน้ำ
คลอดก่อนกำหนด
ติดเชื้อง่าย
คลอดยากจากทารกตัวโต
การตกเลือดหลังคลอด
ผลต่อทารก
อัตราการเกิด RDS สูงขึ้น
ความพิการแต่กำเนิด
การตายของทารกใในครรภ์สูง
การตายของทารกหลังคลอด
ทารกตัวตัว คลอดติดไหล่
Neonatal hypoglycemia, Hyperbilirubimenia
ขั้นตอน
การคัดกรอง
first ANC
ตรวจ
urine dipstick
ผล negative
ดูแลตามปกติ
ผล positive
ตรวจ GCT คัดกรอง
GCT < 140 mg/dl ผลปกติ
ตรวจซ้ำ GA 24-28 wk
GCT > 140 mg/dl ผลผิดปกติ
เตรียมคัดกรอง OGTTิ
(ค่าปกติ105,190,165,14)
OGTT
ผิดปกติ 1 ค่า ตรวจซ้ำอีก 1 เดือน
ผิดปกติ 2 ค่าขึ้นไป ให้คุมอาหาร นัดตรวจติดตาม
FBS+2-hr pp
FBS>105 mg/dl
2hr-pp>120mg/dl ผิดปกติ
การรักษาและ
การพยาบาล
ควบคุมระดับน้ำตาล
ในเลือด
ควบคุมอาหาร
ควรได้รับพลังงาน 30-35 kcal/นน.ตัวก่อนการตั้งครรภ์
เฉลี่ย 1800-2000 kcal ในสัดส่วน C:F:P 50:30:20
แบ่งมื้อย่อย 7 มื้อ มื้อหลัก 3 มื้อ ก่อนนอน 1 มื้อ
หลีกเลี่ยงอาหารมัน รสจัด คาเฟอีน
ควบคุมน้ำหนัก
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ไม่หักโหม
HBA1C ลดลงในกลุ่มที่ออกกำลังกาย
cardiovascular-conditioning(aerobic exercise
เน้นออกกำลังกายส่วนบนมากกว่าส่วนล่าง
ควบคุมด้วย insulin ฉีด < 100 mg/dl
ติดตามระดับน้ำตาลในเลือดสัปดาห์ละครั้ง
ประเมินสุข
ภาพทารก
นับทารกดิ้น 28-30 wk
NST, CST, BPP
U/S ประเมินน้ำคร่ำ
ความพิการ การเติบโตทารก
การนัดตรวจครรภ์
GA 28 wk นัดทุก 4wk
GA 29-31 wk นัดทุก 2wk
GA 32 wk ขึ้นไป นัดทุก 1wk
การรับ Admit
คุมน้ำตาลได้ดี 8-10 wk ก่อนคลอด
คุมได้ไม่ดีรับไว้เลยเมื่อระดับน้ำตาลสูง
รายที่ต้องพึ่ง insulin GA 34 wk
GDM A1 ที่ปกติ เมื่อรับเข้าสู่ระยะคลอด
:star:นางพิชญา สานต๊ะ เลขที่ 49
ชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 28 :star: