Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจVENTILATOR, นางสาวธัญญาเรศ หงษ์มณี …
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจVENTILATOR
ข้อบ่งชี้ในการใช้
การหายใจไม่มีประสิทธิภาพ
การแลกเปลี่ยนก๊าซที่ปอดลดลง
ประสิทธิภาพในการทำทางเดินหายใจให้โล่งลดลง
เพื่อลด work of breathing
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Volume cycled ventilator ควบคุมด้วยปริมาตรลม
Time cycled ventilator ควบคุมด้วยเวลาการหายใจเข้า
Pressure cycled ventilator ควบคุมด้วยความดันลม
Flow cycled ventilator ควบคุม ด้วยปริมาตร การไหลของลม
Breath type
Assisted เป็นการหายใจที่ผู้ป่วยกระตุ้นให้เเครื่องหายใจทำงาน
Supported ผู้ป่วยกำหนดการหายใจออกเอง
Mandatory เป็นการหายใจที่ควบคุมด้วยเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous เป็นการหายใจของผู้ป่วยเองทั้งหมด
วิธีการช่วยหายใจ
Synchronized intermittent mandatory ventilation ( SIMV )
หลักการทำงาน
เครื่องให้ IMV ให้สัมพันธ์กับช่วงที่ผู้ป่วยเริ่มหายใจกระตุ้นเครื่อง
หลักการใช้
ใช้ในผู้ป่วยที่ต้องการ การช่วยหายใจบางส่วน
ข้อดี
ช่วย Maintain Respiratory muscle strength
Mean airway pressure น้อยกว่า CMV
ใช้ในการ Wean ผู้ป่วยที่หย่าเครื่องช่วยหายใจยาก
ข้อเสีย
ทำให้เกิด hypoxemia ได้
ผู้ป่วยจะเหนื่อยมากหากยังไม่พร้อม
Pressure support
เครื่องจะให้ flow จนถึงระดับ pressure ที่ตั้งไว้
ผู้ป่วยเป็นคนกำหนด
Tidal volume
Rate
เวลาในการหายใจเข้า
ข้อดี
Volume distribution ดีกว่า VCV
High decelerating flow
ควบคุม Pressure ไม่สูงเกินไปจนเป็นอันตราย ไม่ควรเกิน 35 cmH2O ใช้ในผู้ป่วยที่มีปัญหาปอดแข็ง เช่น ARDS
ข้อเสีย
ถ้าใช้แบบ IRV จะต้องใช้ยา Sedate และยาคลายกล้ามเนื้อ
Assisted Control ventilation
เป็นการช่วยหายใจแบบที่เครื่องช่วยหายใจถูกกระตุ้นโดยการหายใจของผู้ป่วยบางส่วนหรือทั้งหมด ขึ้นกับอัตราการหายใจของผู้ป่วยและอัตราการหายใจของเครื่องที่ตั้งไว้
โดยที่จะเป็นการช่วยแบบ Full support หรือผู้ป่วยออกแรงมากน้อยเพียงใด (WOB)จะขึ้นกับ sensitivity , peak inspiratory flow และ respiratory drive ของผู้ป่วยเอง
ข้อดี
ใช้ง่าย คุ้นเคย
ใช้ได้ทุกประเภทของผู้ป่วย
ไม่ต้อง paralyze ผู้ป่วย
ใช้ได้ในเครื่องช่วยหายใจทุกเครื่อง
ข้อเสีย
อาจเกิด Respiratory alkalosis
อาจเกิด Dys-synchrony ได้ง่าย
Control mechanical ventilation
เป็นวิธีการช่วยหายใจที่เครื่องจะทำงานแทนผู้ป่วยทั้งหมด โดยผู้ใช้เป็นผู้กำหนดค่า TV, RR , และ Flow waveform
หลักการใช้
ผู้ป่วยไม่หายใจเอง
ต้องการควบคุมการช่วยหายใจทั้งหมด
ผู้ป่วย Tetanus
ข้อดี
เป็น Mode ที่ใช้ง่าย
เป็น Mode มีในเครื่องช่วยหายใจทุกเครื่อง
ข้อเสีย
ต้องติดตาม ABG บ่อย
ต้องใช้ยา Sedative
ต้องใช้ยา Sedative
Continuous Positive airway pressure
เป็น Spontaneous breath ทั้งหมด
เครื่องให้อากาศตลอดเวลา
ลดการออกแรงในการหายใจ
ข้อดี
ลดผลการแทรกซ้อนจากเครื่องช่วยหายใจ
ใช้แบบ Non invasive ventilation ได้
ใช้เสริม mode PSV เพื่อลด Work of Breathing
ข้อเสีย
ไม่มี Back up mode
ผู้ป่วยอาจรู้สึกอึดอัด
ความผิดปกติจากการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ
ระบบการต่อของเครื่อง
ความผิดปกติของการทำงาน
การปรับตั้งเครื่องช่วยหายใจ
ระบบการเตือนความผิดปกติ
ระบบความชุ่มชื้น
ระบบการต่อของเครื่อง
อาการแสดง
Alarm low inspiratory pressure
Alarm low Exhale tidal volume / Low Exhale MV.
สาเหตุที่พบได้บ่อย
สายชุดช่วยหายใจหลุดจากผู้ป่วย
สายชุดช่วยหายใจรั่ว
กระป๋องดักน้ำปิดไม่สนิท ปีนเกลียว รั่ว
การแก้ไข
ตรวจสอบระบบสายชุดช่วยหายใจจากผู้ป่วยสู่เครื่อง
ข้อบ่งชี้ในการใส่ท่อช่วยหายใจ
ผู้ป่วยการหายใจล้มเหลวที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ
ป้องกันหรือแก้ไขภาวะ upper airway obstruction
ป้องกันการสำลักอาหารในกระเพาะอาหาร
ดูดเสมหะในหลอดลม
การพยาบาลผู้ป่วยขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ความหมาย
การหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจ
การหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจอย่างทันที หรือลดการช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจลงอย่างช้า ๆ จนผู้ป่วยกลับมาหายใจได้เอง
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
กระบวนการที่ทำให้ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจกลับมาหายใจได้เอง โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องช่วยหายใจอีกต่อไป
ประกอบด้วย
ขั้นตอนการหย่าจากออกซิเจน
ขั้นตอนการหย่าจากการช่วยหายใจของเครื่อง
เกณฑ์การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ความพร้อมทางด้านจิตใจ
ระดับความรู้สึกตัวดี
Pulmonary mechanics
Pulmonary gas exchange
ไม่มีภาวะทุพโภชนาการ
Clinical factors
ใช้ยานอนหลับหรือยาแก้ปวดลดลง
การพยาบาล
อธิบายขั้นตอนการหย่าเครื่องช่วยหายใจให้ผู้ป่วยรับทราบ
จัดให้ผู้ป่วยนั่งศีรษะสูงหรือนั่งหลังตรง
ดูดเสมหะก่อนและให้ผู้ป่วยพักหลังดูดเสมหะประมาณ 15 นาที จากนั้นจึงเริ่มการหย่าเครื่องช่วยหายใจและดูดเสมหะขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจเท่าที่จำเป็น
เจาะและส่งตรวจ ABG ไว้เป็นข้อมูลพื้นฐานก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจครั้งแรก
ให้ผู้เริ่มกระบวนการหย่าเครื่องช่วยหายใจตามวิธีที่เลือกใช้
สังเกตและบันทึก: ระดับความรู้สึกตัว สัญญาณชีพ BP, HR ,RR คลื่นไฟฟ้าหัวใจ O2 Saturation
ส่งตรวจ ABG ตามแผนการรักษา
วัดและบันทึก lung mechanic หรือ weaning record
สังเกตและบันทึก เมื่อผู้ป่วยมีอาการแสดงว่ากล้ามเนื้ออ่อนแรง จากการหย่าเครื่อง
ควรให้ผู้ป่วยได้ผ่อนคลายโดยการฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ หรืออ่านหนังสือ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอในช่วงเวลากลางคืน
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Conventional T- piece method
single T- piece trial
นิยมใช้กับผู้ป่วยที่ ใช้เครื่องช่วยหายใจเพียงระยะสั้น ไม่มีพยาธิสภาพของปอดเดิม
ผู้ป่วยหายใจด้วย T-piece รวดเดียวตลอด นานเกิน 1-2 ชั่วโมง แล้ว extubation ได้
Intermittent T- piece trial
วิธีนี้เหมาะกับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจเป็นเวลานาน กล้ามเนื้อหายใจอ่อนแรง มีพยาธิสภาพของโรคปอดเรื้อรัง หรือสาเหตุของภาวะหายใจล้มเหลวได้รับการแก้ไขแต่ไม่ทั้งหมด
Intermittent mandatory ventilation
เป็นการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยไม่ต้องปลดเครื่องช่วยหายใจออกจากผู้ป่วย ตั้งอัตราการหายใจของเครื่องให้ช้าลง เพื่อทิ้งช่วงให้ผู้ป่วยหายใจเองสลับกับจังหวะการหายใจของเครื่อง
นิยมปฏิบัติ ด้วย IMV rate ที่ 10 - 12 ครั้ง / นาที จากนั้นจึงลด IMV rate ลงทีละ 1-2 ครั้ง และให้หายใจด้วย O2 T- piece เมื่อ IMV rate น้อยกว่า 3 - 4 ครั้ง/ นาที
Pressure support ventilation ( PSV )
เป็นวิธีที่ให้ผู้ป่วยควบคุมอัตราหายใจ อัตราไหลของลม
เครื่องจะช่วยผู้ป่วยในแง่ของ Inspiratory pressure support ; IPS เท่านั้น
Continuous positive airway pressure ( CPAP )
เป็นการช่วยหายใจแบบ ช่วยทำให้ทางเดินหายใจมีแรงดันบวกตลอดทางเดินหายใจ ทั้งหายใจเข้า และหายใจออก
ผู้ป่วยกำหนดอัตราการหายใจและอัตราการไหลของลมเข้าปอดเอง
ระดับ CPAP ที่ตั้งค่าไว้ประมาณ 5-8 cmH2o ซึ่งให้ผลลด WOB ได้เป็นอย่างดี และเพิ่มความจุของ FRC ด้วย
ภาวะที่เป็นเครื่องบ่งชี้ว่าควรยุติการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป
O2 Saturation < 90 %
ชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มหรือลดลง มากกว่า 20 ครั้ง/นาที
EKG มี arrhythmia
Skin มีเหงื่อออกมาก
ABG , pH < 7.35 จากการคั่งของ CO2
. ความดันโลหิตเพิ่มหรือลดจากเดิม มากกว่า 20 mm Hg
การใช้กล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ
ผู้ป่วยบอกว่าเจ็บหน้าอก อ่อนเพลีย หรือหายใจลำบาก
นางสาวธัญญาเรศ หงษ์มณี รหัสนักศึกษา 612501036