Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติข…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
การประเมินสภาพการหายใจ
2.การตรวจร่างกาย
ระบบหายใจ เช่น การหายใจหอบเร็ว ลำบาก ฟังเสียงปอด
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Arterial Blood Gas
ดูที่ค่าpH ค่าpHปกติ คือ7.35-7.45
pH< 7.35 เรียกว่า acidosis
pH> 7.45 เรียกว่า alkalosis
ดูที่ค่าPaCO2 ค่าปกติ PaCO2 อยู่ในช่วง35-45mmHg
ดูที่ค่าPaO2 ค่าปกติของPaO2 อยู่ในช่วง80-100mmHg
ดูที่ค่าHCO3และbase excess(BE)HCO3 22-26mEq/Lค่าBE+ 2.5 mEq/L
ดูที่ค่าoxygensaturationค่าปกติ 97-100%
Lung function test
bronchoscopy
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การตรวจ CBC
การวัด oxygen saturation (SpO2)
1.การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บปวยปัจจุบัน การรักษา และยาที่ได้รับ ประวัติการผ่าตัดเป็นต้น
Respiratory Acidosis
PaCO2 > 45 mmHg =Hypoventilation
การหายใจการแลกเปลี่ยนกา๊ซในปอดลดลง หายใจออกลดลง
การรักษา
ขจัดสาเหตุ
ถ้า Hypoxemia ให้ออกซิเจน หรือใช้เครื่องช่วย หายใจ
ให้การรักษาตามโรค เช่น ให้ยาปฏิชีวนะในโรคปอดอักเสบ ยาขยายหลอดลม และ สเตียรอยด์ใน โรคหอบหืด
ให้โซเดียมไบคารบ์อเนต
Respiratory Alkalosis
PaCO2 < 35 mmHg=Hyperventilation
การหายใจเร็ว ภาวะหอบหืด ปอดอักเสบ ไข้สูง วิตกกังวล
การรักษา
ปรับลด Tidal volume,RR
ให้ยาแก้ปวด
Hyperventilation syndrome ให้ผปู้่วยหายใจในถุงกระดาษ
ให้ Sedative drug
Metabolic Acidosis
HCO3 < 22 mEq
สาเหตุ
ได้รับอาหารไม่พอ, รับประทานอาหารไม่ได้
ท้องร่วงรุนแรง
เบาหวานที่ขาดอินซูลิน
ไตวาย
กรดแลคติกคั่งจากออกกำลังกายหักโหม
อาการ
ปวดศีรษะ สับสน อาเจียน ท้องเดิน หายใจหอบลึก
เป็นตะคริวที่ท้องชาปลาย มือ ปลายเท้า
การรักษา
ให้โซเดียมไบคารบ์อเนต
Hemodialysis
Metabolic Alkalosis
HCO3 > 26 mEq
สาเหตุ
ไดรับยาขับปัสสาวะมาก
อาเจียนรนุแรง,ใส่ gastric suction เป็นเวลานาน
ท้องผูกหลายวัน มีการดูดซึมกลับของโซเดียมไบคารบ์อเนต
อาการ
สับสน ไวต่อการกระตุ้น ชัก Ca ต่ำ
คลื่นไฟฟ้าหัวใจผิดปกติ K ต่ำ
การรักษา
ให้ Hcl acid ทางหลอดเลือดดำ
ภาวะหายใจล้มเหลว (Respiratory Failure)
การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้ความดันออกซิเจนใน เลือดแดง
ชนิดของการหายใจล้มเหลว
Oxygenation failure
Ventilatory failure
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด
ระบบผิวหนัง
ระยะแรกจะมีเหงื่อออก ตัวเย็น ระยะขาดรนุแรง จะมีอาการตัวเขียว เมื่อ PO2<40mmHg หรือ O2Sat <70% บริเวณเยื่อบุปาก ลิ้น ปลายมือปลายเท้า
ระบบหัวใจ และหลอดเลือด
ชีพจรเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง การเต้นของหัวใจเร็วขึน
ระบบประสาท
ระยะแรกมีอาการกระสับกระส่าย สับสนการรับร้ลูดลง ระยะรนุแรง ซึม หมดสติ รูม่านตาขยายไม่ตอบสนองต่อแสง กล้ามเนื้อกระตุก ชักทั้งตัวได้
ระบบหายใจ
หายใจเร็ว หอบเหนื่อย ถ้ารุนแรงมากอาจเกิด Cheyne –Stokes breathing หรือ apnea
โรคหืด (Asthma)
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลมมีผลทำให้หลอดลมผู้ป่วยมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้หรือสิ่งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้น
สารก่อภูมิแพ้
สารระคายเคือง
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
การติดเชื้อไวรัสของทางเดินหายใจส่วนต้น
สาเหตุอื่น ๆ เช่น การออกกำลังกาย ความชื้น
การวินิจฉัย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis และ dermatitis
มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
เกิดอาการหลังออกกำลังกาย
การตรวจร่างกาย
ขณะมีอาการจะพบอัตราการหายใจเพิ่มขึ้น หายใจลำบาก หายใจออกยาวกว่าปกติ หรือหอบได้ยินเสียงหวีด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจสมรรถภาพการทำงานของปอด
วัดค่าความผันผวนของ PEFในแต่ละช่วงเวลา
การพยาบาล
ให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการรักษา
แนะนำวิธีหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
ประเมินระดับความรุนแรงของโรคหืด และประเมินผล
จัดแผนการรักษาสำหรบัผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
ดูแลรักษาในขณะมีอาการหอบหืดกำเริบเฉียบพลัน
กลุ่มยาควบคุมอาการ
Glucocorticosteroids: inhaled (ICS), systemic (OCS)
Inhaled long-acting เบต้า2-agonists (LABA) in combination with ICS
Leukotriene modifiers
Sustained-release theophylline / Xanthines
Anti-IgE
Cromones
กลุ่มยาบรรเทาโรค
Short-acting เบต้า2agonists (SABA): inhaled / oral
Inhaled anticholinergics: (combination with salbutamol or fenoteral)
Short-acting theophylline
Chronic Obstructive Pulmonary Disease
ปัจจัยเสี่ยง
ควันบุหรี่ ควันไฟ
การติดเชื้อของปอดและทางเดินหายใจเรื้อรัง
ปัจจัยด้านผู้ป่วย เช่น ลักษณะทางพันธุกรรม
การวินิจฉัย
การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอด พบค่า FEV1ต่ำกว่าปกติ
ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยงและอาการแสดงที่พบ
เป้าหมายของการรักษา
ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค
ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น
บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด
การรักษา
ออกกำลังกาย
-แบบแอโรบิค ฝึกกล้ามเนื้อ
-การหายใจแบบ Pursed –lip
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ควรรับประทาน อาหารคาร์โบไฮเดรตมาก
ยากลุ่ม bronchodilator , Methylxanthine , Corticosteroid
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี
การหยุดบุหรี่
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการตีบแคบ ของหลอดลม
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะลักษณะการหายใจ อาการเหนื่อยหอบ สังเกตอาการ cyanosis วัด O2 saturation Keep > 92% ทุก 1 ชั่วโมงและ Monitor EKG
ฟังเสียงการหายใจ
จัดท่านอนศีรษะสูง30-45 องศา(Fowler’s position)
ดูแลให้ออกซิเจน 1 –3 ลิตรต่อนาที (24 –32%)
ถ้าหายใจวายพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจและต่อเครื่องช่วยหายใจ
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม โดยพ่นยา BerodualMDI ทุก 4 ชั่วโมงหรือให้ ยารับประทาน
ดูแลให้ยา Dexamethasone 4 mg iv ทุก 6 ชั่วโมง
ถ้าผู้ป่วยมีไข้ต้องให้ยาลดไข้
เสี่ยงต่อการเกิดความไม่สมดุลของสารอาหารและน้ำ เนื่องจากภาวะการหายใจล้มเหลว
ทำความสะอาดปากและฟัน
ประเมินความต้องการสารอาหารที่ควรได้รับต่อวัน
ให้อาหารที่มีโปรตีนและแคลอรี่สงู คาร์โบไฮเดรตต่ำ
ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างน้อยวันละ 3,000 มล.
ความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อย อ่อนเพลีย และหายใจลำบาก
สอนและกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้มีการออกกำลังกาย การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องร่วมกับการห่อปาก
ดูแลการได้รับยาขยายหลอดลม ก่อนออกกำลังกาย
ประเมินสภาพผู้ป่วยและให้นอนพัก