Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิด - Coggle Diagram
การทบทวนวรรณกรรมและกรอบแนวคิด
1.การทบทวนวรรณกรรม
หมายถึง...การศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้านองค์ความรู้แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาการวิจัยให้ครอบคลุม
ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม
สืบค้นเอกสาร
ภาพรวมและสังเคราะห์
เรียบเรียงเขียน
เนื้อหาที่ต้องทบทวนจากวรรณกรรม
1.สถานการณ์ที่เป็นปัญหาต่างๆในประเด็นปัญหาที่ต้องการศึกษา
2.องค์ความรู้ต่างๆรวมทั้งแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องต่างๆเพื่อวิเคราะห์และตัดสินใจ
3.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ต้องทบทวนทั้งหมดในงานวิจัยนั้น คือเนื้อหาวิชาการ เนื้อเรื่องตัวแปลที่ศึกษา ระเบียบวิจัย ผลการศึกษาและข้อสรุป
4.เครื่องมือวิจัย เครื่องมือเก็บข้อมูล
5.สถิติและแนวทางวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดปัญหาการวิจัย
6.รูปแบบการเขียนได้งานเพื่อเป็นการเรียนรู้แนวทางการเขียนรายงานผลการวิจัย
2.การนำทฤษฎีมาใช้ในงานวิจัย
เป็นส่วนหนึ่งของการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ในส่วนขององค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับแนวคิดและทฤษฎีของปัญหาการวิจัยที่ต้องการศึกษาทั้งหมด
กรอบความคิดทางทฤษฎี
หมายถึง...แนวคิดที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของตัวแปรทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษาซึ่งได้จากการทบทวนเอกสาร
ความสำคัญของกรอบแนวคิดทางทฤษฎี
1.ช่วยตั้งคำถามการวิจัย หรือเป็นที่มาของคำถามการวิจัย
2.การกำหนดกรอบแนวคิดทางทฤษฎีที่ชัดเจนและควบคุม
3.ลดความซ้ำซ้อนในการเลือกใช้ตัวแปล
4.เป็นฐานในการสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย
การทบทวนวรรณกรรมเพื่อกรอบแนวคิดทางทฤษฎี
ต้องทบทวนทฤษฎีที่เกี่ยวข้องทั้งหมด
ต้องเรียบเรียงตัวแปลทั้งหมดที่ได้จากทฤษฎี
สร้างกรอบความคิดทางทฤษฎี
ได้กรอบแนวคิดทางทฤษฎีที่แสดงถึงตัวแปลทั้งหมดของแต่ละทฤษฎีจะนำไปสู่การเลือกตัวแปรที่สำคัญ
3.กรอบแนวคิดการวิจัย
หมายถึง...คือการแสดงหรืออธิบายตัวแปรทั้งหมดที่ต้องการการศึกษา โดยนักวิจัยจะเลือกตัวแปรบางตัวที่เกี่ยวข้องจริงในบริบทสถานการณ์หรือนักวิจัยคิดว่าเกี่ยวข้องและเป็นตัวแปลที่มีค่าเปลี่ยนแปลงจริง
รูปแบบการเขียนกรอบแนวคิด
2.แบบฟังชั่นทางคณิตศาสตร์...วิธีนี้นิยมใช้ในการวิจัยทางเศรษฐศาสตร์เป็นการพยายามอธิบายเรื่องราวทั้งหมดด้วยวิธีการหรือสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์
1.แบบบรรยาย...เป็นการใช้ถ้อยคำบรรณยาย ความเกี่ยวข้องเกี่ยวเนื่องลำดับก่อน หลัง หรือบรรยายความสัมพันธ์ของตัวแปร
3.แบบแผนภูมิ...เป็นการเชื่อมโยงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระและตัวแปรตามที่ต้องการศึกษาและแสดงลำดับการเกิดก่อนหลังของตัวแปร
4.นิยามตัวแปร/นิยามศัพท์
หมายถึง...เป็นการให้ความหมายของตัวแปรต่างๆที่จะศึกษาทั้งหมดทุกตัวแปร ที่ปรากฏในวัตถุประสงค์ของการวิจัย หรือสมมุติฐานการวิจัยหรือที่กำหนดไว้ในกรอบแนวคิด
ชนิดของนิยามตัวแปร
1.การนิยามทั่วไป เป็นการให้ความหมายกว้างกว้างตามแนวคิดที่สดีหรือตามพจนานุกรม
2.การนิยามเชิงปฏิบัติการ เป็นการให้ความหมายที่ชัดเจนโดยกำหนดตัวบ่งชี้หรือรายละเอียดที่สามารถสังเกตได้ วัดได้ภายในขอบข่ายของการนิยามทั่วไป