Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและหลักการดูแลมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ - Coggle…
แนวคิดและหลักการดูแลมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
มโนทัศน์การดูแลมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
ความหมาย
ภาวะที่ทำให้หญิงที่ตั้งครรภ์และบุตร มีโอกาสได้รับอันตรายและมีโอกาสตายสูงทั้งในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
มารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ 2 แบบคือ
ความผิดปกติที่มีผลต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อทารก
ทำให้ทารกตายในครรภ์
ตายคลอดหรือมีน้ำหนักผิดปกติ
ตายคลอดหรือมีน้ำหนักผิดปกติ
ผลต่อการตั้งครรภ์
ทำให้เกิดการแท้งบุตร
การคลอดก่อนกำหนด
ผลต่อการคลอดและหลังคลอด
ทำให้ต้องใช้หัตถการ
ภาวะตกเลือดในระยะคลอดและหลังคลอด
ภาวะการติดเชื้อหลังคลอด
การตั้งครรภ์ที่มีผลต่อภาวะผิดปกติ
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินปัสสาวะ
การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อ
การเปลี่ยนแปลงของโลหิต
การเปลี่ยนแปลงของระบบหมุนเวียนโลหิตและหัวใจ
การเปลี่ยนแปลงของระบบทางเดินหายใจ
กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
ขั้นตอนที่ 1 ประเมินภาวะสุขภาพ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต
การสัมภาษณ์/การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การดู การคลำ การเคาะ และการฟัง โดยตรวจตั้งแต่ศีรษะจรดเท้า
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การจัดระบบข้อมูล
ข้อมูลทั่วไป
อายุ
ชื่อ
เพศ
ศาสนา เชื้อชาติ
อาชีพ สถานภาพสมรส
การศึกษา ภูมิลำเนา รายได้
ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด
ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
อาการสำคัญที่มาโรงพยาบาล
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติการเจ็บป่วยในของครอบครัว
11 แบบแผน
การวิเคราะห์และการแปลผล
นำข้อมูลมาวิเคราะห์แยกจัดกลุ่มเป็นหมวดหมู่ เพื่อสนับสนุนให้เห็นถึงปัญหาของผู้รับบริการที่มีภาวะผิดปกติในระยะตั้งครรภ์คลอด
และหลังคลอด
ขั้นที่ 2 การวินิจฉัยการพยาบาล
การระบุถึงภาวะสุขภาพหรือปัญหาของผู้รับบริการ
ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต
ขั้นที่3 การวางแผนการพยาบาล
การจัดลำดับข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
การกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์การพยาบาล
การกำหนดกิจกรรมการพยาบาล
การกำหนดเกณฑ์การประเมินผล
ขั้นที่ 4 การปฏิบัติการพยาบาล
การตรวจสอบแผนการพยาบาล
การทบทวนและปรับแผนการพยาบาล
การระบุสิ่งอำนวยความสะดวก
การตรวจสอบแผนการพยาบาล
2 การปฏิบัติการพยาบาล
ทักษะทางสติปัญญา
ทักษะการสร้างมนุษย์สัมพันธ์
เทคนิคการพยาบาล
3 การบันทึกการพยาบาล
ชัดเจน
กระทัดรัด
สามารถสื่อสารให้เข้าใจได้ง่าย
ขั้นที่ 5 การประเมินผลการพยาบาล
เปรียบเทียบกับเกณฑ์การประเมินผล
นำไปปรับปรุง
บทบาทพยาบาลในการดูแลมารดาทารกที่มีภาวะเสี่ยงและมีปัญหาสุขภาพ
บทบาทผู้ประเมินปัญหาและวางแผนการพยาบาล
ซักประวัติผู้รับบริการให้ครอบคลุมอาการสำคัญ
ตรวจร่างกาย
บันทึกผลการตรวจร่างกายและซักประวัติ
วางแผนการพยาบาลที่ต่อเนื่อง
รายงานและส่งต่อผู้รับบริการตามความเหมาะสม
วางแผน
เก็บข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้รับบริการเพิ่มเติม
บทบาทผู้ให้การดูแล
ป้องกันผู้รับบริการและทารกในครรภ์จากอันตรายทางด้านสรีรวิทยาที่อาจเกิดขึ้น จากผลของภาวะผิดปกติของการตั้งครรภ์
ดูแลช่วยเหลือผู้รับบริการและครอบครัวให้ปรับตัวต่อภาวะกดดันต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์
กระตุ้นให้เกิดความร่วมมือในการดูแลรักษาพยาบาล
ให้ความรู้แก่ครอบครัวหรือสมาชิกของครอบครัว รวมทั้งให้กำลังใจแก่ผู้รับบริการและครอบครัว
กระตุ้นให้แสดงออกถึงความรู้สึกและให้ความสนใจ
บทบาทผู้สอน
วางแผนการสอน
ให้การสอนเป็นกลุ่มหรือเป็นรายบุคคลตามความเหมาะสม
ประเมินความต้องการเรียนรู้ของผู้รับบริการและครอบครัว
ประเมินผลการสอน
บทบาทผู้ให้คำปรึกษา
ช่วยให้ผู้รับบริการใช้กระบวนการแก้ปัญหาเพื่อที่จะรับรู้และจัดการกับภาวะเครียด สามารถปรับตัวให้เกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้รับบริการ ครอบครัว และทีมสุขภาพ
บทบาทผู้ประสานงาน
เพื่อให้การรักษาพยาบาลเป็นไปตามแผนและการบริหารจัดการให้เกิดความเรียบร้อย
บทบาทผู้เปลี่ยนแปลง
พยาบาลจะต้องมีความริเริ่มสร้างสรรค์ มีความมานะพยายาม รู้จักกาลเทศะ มีทักษะในการสร้างสัมพันธภาพ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้รับบริการให้มีคุณภาพ และสามารถปรับตัวต่อภาวะวิกฤตได้
บทบาทด้านบริหารจัดการ
ร่วมให้การพยาบาลแก่ผู้รับบริการ
ส่งเสริมให้มีการฟื้นฟูสภาพอันเนื่องมาจากภาวะผิดปกติ นิเทศ และประเมินผลการสอน
นิเทศและประเมินผลการปฏิบัติการพยาบาลที่ให้แก่ผู้รับบริการ
ตรวจเยี่ยมเพื่อประเมินสภาพร่างกายและจิตใจ ความก้าวหน้าของการรักษาพยาบาลและสิ่งแวดล้อมต่างๆ รอบตัวผู้รับบริการ
ให้ผู้รับบริการได้รับการรักษาครบถ้วนตามแผน
การวางแผนและร่วมมือในการให้การศึกษาอบรมแก่บุคลากรในหน่วยงานที่ปฏิบัติเพื่อให้ผู้รับบริการได้รับการดูแลที่มีประสิทธิภาพและปลอดภัย
มอบหมายงานแก่บุคลากรตามความสามารถ
บทบาทผู้วิจัย
ศึกษางานวิจัยต่างๆ และนำมาใช้ประกอบในการกำหนดมาตรฐานการพยาบาล
นำผลการวิจัยมาใช้ปรับปรุงงาน
กระทำหรือร่วมมือในการทำวิจัยทางคลินิก
เขียนคำสั่งการพยาบาลเป็นหลักฐานและเก็บไว้ใช้ประโยชน์เป็นข้อมูลเพื่อการวิจัย
ให้การพยาบาลอย่างมีระบบและเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิธีการพยาบาลใหม่ๆ ที่ทดลองปฏิบัติกับผู้รับบริการ
ทฤษฎีการพยาบาลแบบเอื้ออาทร (Theory of Human Caring)
ทฤษฎีการพยาบาลแบบเอื้ออาทร พัฒนาขึ้นโดยดร.จีน วัตสัน (Dr. Jean Watson) มีความเชื่อว่า การดูแลเป็นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์และการพยาบาลคือศาสตร์แห่งการดูแลมนุษย์ ที่ประกอบไปด้วย บุคคล สุขภาพ การพยาบาลและสิ่งแวดล้อม ที่ต้องใช้กระบวนการพยาบาล ที่จะพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลให้มีคุณภาพตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการมากขึ้น ทฤษฎีการพยาบาลช่วยให้วิชาชีพพยาบาลมีองค์ความรู้ที่โดดเด่น และเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของวิชาชีพ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าทฤษฎีทางการพยาบาลจึงมีความจำเป็นต่อวิชาชีพพยาบาลเพื่อพัฒนาวิชาชีพให้เจริญก้าวหน้ายิ่งขึ้น
นางสาวนลิตา ลือโสภา เลขที่ 41