Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
เด็ก
ความหมาย
พจนานุกรมแปลไทย -ไทย
คนที่มีอายุยังน้อย ผํ้ซึ่งอายุไ่ครบ 18 ปีบริบูรณ์ และยังไม่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส บุคคลอายุเกิน 7 ปีบริบูรณ์ แต่ยังไม่เกิน 14 ปีบริบูรณ์ บุคคลที่มีอายุ 15 ปีลงมา
ด้านสุขภาพ
บุคคลตั้งแต่แรกเกิด ถึง 15 ปี
ระยะพัฒนาการ
New born ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Infant ทารกอายุมากกว่า 28 วันถึง 1 ปี
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
สิทธิเด็ก
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องค้มครอง
สิทธิในด้านพัฒนาการ
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิในการมีส่วนร่วม
พระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.2546
คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก
การปกป้องคุ้มครองเด็ก
Pain assessment
การประเมิน
การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรม
ความเจ็บป่วยด้วยตนเอง
การเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
เครื่องมือที่ใช้ประเมิน
ประกอบด้วย
Faces scale
Numeric rating scales
FLACC
CHEOPS
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
CRIES Pain Scale
ถามเกี่ยวกับ
ลักษณะการเจ็บปวด
รูปแบบ ระยะเวลา
ผลกระทบต่อความปวด
ตำแหน่ง
ปัจจัยที่ทำให้ปวดมากขึ้น
ความรุนแรง
หลักการประเมินความปวด
3.เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
4.เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่อง ไม่สามารถสื่อสารได้ ควรดูแลเป็นนพิเศษ
2.ประเมินอย่างสมำ่เสมอและต่อเนื่อง
5.มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
1.ประเมินก่อนการให้การพยาบาล
6.หลีกเลี่ยงคำถามนำอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง
บทบาทของพยาบาล
2.ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี
3.ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรมแนวคิด สภาพอารมณ์ จิตใจ บุคลิกภาพ
1.สร้างสัมพันธภาพที่ดี
4.ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้ อาจใช้วิธีการสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด
Preparation for Hospitalization and Medical Procedures
Preparing
Toddlers/Preschoolers
Read books about going to hospital
Interactive play with dolls
Stressors(Being left alone)
Stay with child during hospitalization
Infants
Let nursing staff know about baby"s schedule
Bring favorite security item
Keep routines
Stressore (Separration from parents)
School Age
Take tour
Make sure child why is having surgery in words they understand
Stressors(Being away from school/friends)
Teenager
Allow teen to be part of decision making process
Ask friends to visit/send cards
Stressors (Loss of control)
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบ
การร่วมมือ Collaboration
การสนับสนุน Support
การตระหนักและการเคารพRespect
หลักการ
2.สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุกระดับของการบริการดูแลสุขภาพทั้งที่โรงพยาบาล บ้าน และชุมชน
3.มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็น
1.เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก ในขณะที่บุคลากรด้านสุขภาพและระบบบริการสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลง
4.เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการของบุคคลและครอบครัว
5.ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือคริบครัว
6.ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็งและลักษณะเฉพาะ
7.เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ
8.กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครื่อข่ายผู้ปกครอง
9.จัดบริการให้มีความยืดหยุ่น เข้าถึงได้และตอบสนองความต้องการของครอบครัว
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเรื้อรัง (Chronic)
ระยะวิกฤต (Ceisis)
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
ระยะสุดท้าย/ใกล้ตาย (Death/Dying)
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ประเภท 3 การปนเปื้อน
ประเภท 4 ภายในร่างกาย
ประเภท 2 สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ บุคคลที่อยู่ใกล้ตัว
ประเภท 5 ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดี
ประเภท 1 ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภท 6 เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขั้นสูงสุด
ประเภท 0 ตอบแบบไม่เข้าใจ
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ Physiological reflex
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่ายการสัมผัส กลิ่น เสียง จะร้องเมื่อหิว เจ็บ หรือมีอาการไม่สุขสบายต่างๆ เกิดขึ้นในร่างกาย
อายุ < 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย ไม่มีความหมายอายุ > 6 เดือน ผูกพันธ์กับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
วัยแรกเกิดและวัยทารก
แบ่งตามวัย
วัยเรียน
เข้าใจความเป็นตัวของตัวเอง มองความตายที่มีต่อตนเองได้ชัดขึ้น เข้าใจความหมายของความตาย
สามารถจิตนาการเรื่องความตาย เขาใจเรื่องโรค การวินิจฉัย
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
วัยรุ่น
มีความเป็นส่วนตัว เป็นตัวของตัวเองมาก
มองความตายเป็นเรื่องที่ไตนเอง ยอมรับความตายของตนเองงยากที่สุด เหมือนการลงโทษ
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้(Rreversible) เหมือนการไปเที่ยวชั่วคราว
ความตายเปรียบเสมือนการรนอนหลับ
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาล
การปรับตัวขอองเด็กและครอบครัว
ความสามรถของเด็กต่อการปรับตัวในการเผชิญความเครียด
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ประสบการณ์เดิมของเด็กที่เคยเผชิญในการเจ็บป่วยครั้งก่อน
ระบบการดูแลและการช่วยเหลือเด็ก
พัฒนาการตามวัยของเด้ก
ผลกระทบของความเจ็ป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยเดิน วัยที่อิสระ อยากรู้อยากเห็นและยังไม่เคยแยกจากบิดามารดา ผู้เลี้ยงดู การเจ็บ่วยเฉียบพลัน เรื้อรัง อาจทำให้เด็กคิดว่าบิดามารดาทอดทิ้ง
วัยก่อนเรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างมุ่งหวังที่จะประสบความมสำเร็จในงานบางอย่าง การที่เด็กเจ็บป่วยและต้องรักษาอยู่ในโรงพยาบาลเป็นการลงโทษ
วัยทารก ทำให้เด็กรู้สึกไม่ดี ส่งผลต่อความต้องการทั่วไปของทารก เช่นกินได้น้อยลง ถูกจำกัดกิจกรรม
วัยเรียน วัยที่มุ่งมั่นต่อความสำเร็จ มีสังคมนอกบ้านในกลุ่มเพื่อนที่โรงเรียน เด็กที่เจ็บป่วยจะรู้สึกสูญเสียการนับถือตนเอง รู้สึกมีปมด้อย ถูกปฏิเสธจากกลุ่ม
วัยรุ่น มีการค้นหาเอกลักษณ์ความเป็นตัวของตัวเอง มีความเป็นอิสระ มีผลกระทบต่อความเชื่อมั่นในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลิกภาพ
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว : การสูญเสียความสามารถในการควบคุม ((Loss of control)
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ (Body image)
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา ( Body injuly and pain)
ความตาย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก (Separation anxiety)
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง
ความรู้สึกกลัวและวิตกกังวล
การปฏิเสธ
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ ขาดอำนาจต่อรอง
ความรู้สึกเศร้า
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤต
Critical care concept
Pain managerment
Stress and coping
Separation anxiety
ระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
แนวทางการดูแลด้านจิตใจ
2.ป้องกันและลดผลกระทบจากการแยกจาก
3.ลดผลกระทบของปฏิกิริยาการสูญเสียการควบคุม
1.การเตรียมเด็กและครอบครัวก่อนเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
4.ส่งเสริมพัฒนาการตามวัยและจัดกิจกรรมการเล่นที่เหมาะสม
การบำบัดรักษาทางการพยาบาบด้านจิตสังคมในเด็กป่วยและความสำคัญของการเล่นต่อเด็กเจ็บป่วย
3.ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
4.เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน
2.ผ่อนคลายความตึงเครียด
5.ส่งเสริมการฟื้นฟูสภาพร่างกาย
1.ช่วยส่งเสริมการปรับตัวของเด็ก