Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะตกเลือดก่อนคลอดในครึ่งแรกของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ภาวะตกเลือดก่อนคลอดในครึ่งแรกของการตั้งครรภ์
1.ความหมาย
การมีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
2.การแท้ง (Abortion)
2.1ความหมาย
การสิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนที่ทารกจะสามารถมีชีวิตรอด
สิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อน 20 Wks.
น้ำหนักทารกน้อยกว่า 500 กรัม
2.2 ชนิดของการแท้ง
การแท้งที่เกิดขึ้นเอง (Spontaneous abortion)
1.การแท้งคุกคาม (threatened abortion)
เลือด : สีแดงสดหรือคล้ำ ปริมาณเล็กน้อย
เนื้อเยื่อที่ออกมา : ไม่มี
ปากมดลูก : ปิด
ขนาด : site = date
มดลูก : หดรัดเกร็งเล็กน้อย
2.การแท้งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (inevitable abortion)
เลือด : มีจำนวนมากขึ้น ปวดท้องมากขึ้น
มดลูก : หดรัดเกร็งปานกลาง
ปากมดลูก : เปิด
ขนาด : site = date,> date
เนื้อเยื่อที่ออกมา : ไม่มี
3.การแท้งไม่ครบ (incomplete abortion)
เลือด : มีจำนวนมาก + มีก้อนเลือด
มดลูก : หดรัดเกร็งรุนแรง
เนื้อเยื่อที่ออกมา : มี
ปากมดลูก : เปิด
ขนาด : site < date
4.การแท้งครบ (complete abortion)
เลือด : จำนวนเล็กน้อย
มดลูก : หดเกร็งเล็กน้อย
เนื้อเยื่อที่ออกมา : มี
ปากมดลูก : ปิด
ขนาด : site < date
5.การแท้งค้าง (missed abortion)
เลือด : จำนวนเล็กน้อย
มดลูก : ไม่หดรัดเกร็ง
เนื้อเยื่อที่ออกมา : ไม่มี
ปากมดลูก : ปิด
ขนาด : site < date
6.การแท้งเป็นอาจิณ (habitual abortion)
แท้งติดต่อกัน 3 ครั้งขึ้นไป
7.การแท้งติดเชื้อ (septic abortion)
การติดเชื้อในโพรงมดลูกที่เป็นผลมาจากการแท้ง
การชักนำให้เกิดการแท้ง
เพื่อการรักษา
มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
ผิดกฎหมาย
ไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์
2.3 สาเหตุ
จากทารก
ภาวะ Turner syndrome
ความผิดปกติของตัวอ่อน
ความผิดปกติของการสร้างโครโมโซม
จากบิดา
อายุมาก, ความผิดปกติของโครโมโซมอสุจิ
จากมารดา
จำนวนการคลอดหรืออายุมารดา
การติดเชื้อ
โรคระบบต่อมไร้ท่อ
ยาและสิ่งแวดล้อม
2.4 ผลกระทบ
ต่อมารดา
Stress
DFIU
Infection
Anemia
Hypovolumic shock
ต่อทารก
Death fetus in utero
2.5 การวินิจฉัย
การตรวจภายในเป็นการตรวจดูบริเวณช่องคลอดว่าปากมดลูกเริ่มมีบีบตัวให้ครรภ์ที่แท้งถูกขับออกมาหรือไม่
การตรวจ U/S เพื่อตรวจอัตราการเต้นหัวใจของทารกเพื่อดูว่าตัวอ่อนมีพัฒนาการเป็นปกติหรือไม่
การตรวจเลือด ได้แก่ ฮอร์โมน hCG ในเลือด
การตรวจเนื้อเยื่อรกเพื่อตรวจดูว่าเนื้อเยื่อนั้นมาจากการแท้งหรือความผิดปกติอื่นๆ
การตรวจโครโมโซม
2.6 การรักษา
การใช้ยารักษา จะได้รับยาเพื่อช่วยขับเอาเนื้อเยื่อจากการตั้งครรภ์และรกออกมาโดยใช้ยาแบบสอดเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาและยังเป็นการลดผลข้างเคียง การใช้สูติศาสตร์หัตถการ เป็นการดูดหรือขูดมดลูก
วิธีการโดยเริ่มจากการขยายปากมดลูกให้กว้างและนำเอาเนื้อเยื่อภายในมดลูกออกมา
2.7 การพยาบาล
ประเมิน V/S, สังเกตภาวะ bleeding, ประเมินระดับ hCG หากได้ผลลบแสดงว่าทารกเสียชีวิตแล้ว
แนะนำให้ดูแลทำความสะอาดอวัยวะเพศหลังขับถ่าย
3.แนะนำให้สังเกตอาการผิดปกติ ได้แก่ มีไข้สูง ปวดท้อง เลือดไหลไม่หยุด เลือดมีกลิ่นเหม็น คลำพบก้อนที่หน้าท้อง
4.งดมีเพศสัมพันธ์หลังแท้งบุตรอย่างน้อย 3-4สัปดาห์
งดของหมักดอง, งดดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
3.การตั้งครรภ์นอกมดลูก (ectopic pregnancy)
3.1 ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่ตัวอ่อนฝังอยู่บริเวณอื่นภายนอกมดลูก ส่วนมากเกิดที่บริเวณท่อนำไข่ (fallopian tube)
3.2 พยาธิสรีรภาพ
การตั้งครรภ์นอกมดลูกเป็นผลมาจากการอักเสบของท่อนำไข่ ส่งผลให้เกิดผังพืดขึ้นจนท่อนำไข่ตีบแคบและผิดรูป ตัวอ่อนจึงไม่สามารถเคลื่อนผ่านไปได้ในเวลาที่เหมาะสม ซึ่งบริเวณที่ตัวอ่อนฝังตัวมากที่สุดคือ ampulla ของท่อนำไข่
3.3ปัจจัยเสี่ยง
2.ความเสี่ยงปานกลาง
มีบุตรยากนานมากกว่าหรือเท่ากับ 2 ปี
มีคู่นอนหลายคน
ตั้งครรภ์อายุมากกว่า 35 ปี
3.ความเสี่ยงเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
เคยผ่าตัดอุ้งเชิงกราน
สูบบุหรี่
สวนล้างช่องคลอด
มีเพศสัมพันธ์ก่อนอายุ 18
1.ความเสี่ยงสูง
เคยผ่าตัดท่อนำไข่หรือผ่าตัดทำหมัน
เคยตั้งครรภ์นอกมดลูก
เคยอุ้งเชิงกรานอักเสบ
ตั้งครรภ์ขณะใส่ห่วงคุมกำเนิด
3.4 อาการและอาการแสดง
ปวดท้องน้อยเฉียบพลัน
เลือดออกทางช่องคลอดมักเป็นสีคล้ำหรือสีน้ำตาลเก่า
ขาดประจำเดือน 1-2 เดือน
ปวดร้าวที่หัวไหล่
วิงเวียนศีรษะ
อาการของการตั้งครรภ์
กดเจ็บบริเวณปีกมดลูก
อากรเจ็บเมื่อโยกปากมดลูก
3.5 การประเมินและวินิจฉัย
ปวดรุนแรงข้างใดข้างหนึ่ง
ปวดร้าวมาที่ไหล่
หน้าท้องมี guarding
beta-hCG สูงกว่า 1,500-2,500 mIU/ml
U/S Cul de sac
3.6 การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง
การรักษาด้วยยา Methotrexate
การผ่าตัด
การผ่าตัดแบบ salpingectomy
การผ่าตัดแบบ linear salpingostomy
3.7 การพยาบาล
1.อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพ แผนการรักษาและการปฏิบัติตน
2.ให้การประคับประคองด้านจิตใจ
3.สังเกตอาการเจ็บปวดในช่องท้อง
4.ประเมินสัญญาณชีพเป็นระยะ
5.เจาะเลือดตรวจหาค่า hemoglobin,hematocritและหมู่เลือด
6.ในรายที่มีภาวะช็อค ให้นอนราบไม่หนุนหมอน ห่มผ้าให้อบอุ่น ให้สารน้ำเร็วขึ้น ให้ออกซิเจน 4-5 ลิตรต่อนาที
7.ในรายที่รักษาด้วยยา Methotrexate อธิบาย S/Eที่อาจเกิดขึ้น
8.ในรายที่ได้รับการรักษาด้วยการผ่าตัด แนะนำวิธีปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
9.ให้คำแนะนำเรื่องการวางแผนครอบครัว
4.การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก (molar pregnancy)
4.1 ความหมาย
เป็นโรคของเนื้อรกชนิดหนึ่งที่เกิดจากความแปรปรวนทางพันธุกรรมในเนื้อรก ทำให้เนื้อรกเสื่อมสภาพกลายเป็นถุงน้ำเล็กๆ ใสๆทเกาะเป็นกระจุก คล้ายพวงองุ่น
4.2 ชนิดของการตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก
ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นถุงน้ำทั้งหมด (complete hydatidiform)
ครรภ์ไข่ปลาอุกที่เป็นถุงน้ำบางส่วน (partial hydatidiform mole )
4.3พยาธิสรีรภาพ
ครรภ์ไข่ปลาอุกเป็นการแบ่งตัวผิดปกติของเซลล์ trophoblasts ไม่มีการพัฒนาหลอดเลือดไปเลี้ยงลี้ยง chorionic villi จึงไม่พบเส้นเลือดทารกใน vili ทำให้ฝ่อเสื่อมสลายและบวมน้ำมีลักษณะเป็นกระจุกของถุงน้ำคล้ายพวงองุ่นมีขนาดตั้งแต่ไม่กี่มิลลิเมตรจนถึง 2-3 เซนติเมตร
4.4 สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
สัมพันธ์กับเศรษฐานะยากจน
ขาดสารอาหาร
การตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 16 ปีและมากกว่า 40 ปี
ประวัติแท้งเองมากกว่า 2 ครั้ง
4.5 อาการและอาการแสดง
เลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
เม็ดโมลหลุดออกมาทางช่องคลอด
ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์
อาการแพ้ท้องรุนแรง
ถุงน้ำรังไข่
ครรภ์เป็นพิษ
คอพอกเป็นพิษ
Trophoblastic embolization พบน้อย
U/S พบ Snow stom pattern
4.6 การประเมินแลวินิจฉัย
complete mole
Snow stom pattern
ไม่พบถุงการตั้งครรภ์หรือทารก
ไม่มีน้ำคร่ำ
พบถุงน้ำรังไข่ทั้ง 2 ข้าง
partial mole
cystic space เฉพาะในเนื้อรก
พบส่วนของทารก
มีน้ำคร่ำปริมาณลดลง
ไม่พบถุงน้ำรังไข่
4.7 แนวทางการรักษา
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
ติดตามระดับฮอร์โมน hCG
คุมกำเนิดอย่างเคร่งครัดอย่างน้อย 1 ปี
กรณีที่เกิดมะเร็งเนื้อรก พิจารณาให้ยาเคมีบำบัด
4.8 การพยาบาล
1.อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับโรค แผนการรักษาและการปฏิบัติตน
2.ให้การประคับประคองด้านจิตใจ
เตรียมความพร้อมด้านร่างกายและจิตใจในการขูดมดลูก
4.ดุแลให้สารน้ำ เลือดและยาตามแผนการรักษา
5.ประเมินและบันทึกสัญญาณชีพ เพื่อเฝ้าระวังการตกเลือด
6.เก็บเนื้อเยื่อที่ได้จากการขุดมดลูกส่งตรวจและติดตามผล
อธิบายให้เข้าใจการดำเนินของโรค แผนการรักษา ความจำเป็นที่ต้องรักษาและการมาตรวจตามนัดอย่างเคร่งครัด
8.อธิบายให้เข้าใจความสำคัญของการคุมกำเนิดและการเลือกวิธีคุมกำเนิด