Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๓ มาตรฐานองค์กรการพยาบาล (Nursing Standards) - Coggle Diagram
บทที่ ๓ มาตรฐานองค์กรการพยาบาล (Nursing Standards)
มาตรฐานเชิงโครงสร้าง หมวดที่ ๑ การบริหารองค์กรพยาบาล (Nursing Organization) :red_flag:
มาตรฐานที่ ๓ ระบบบริการการพยาบาล
๓.๔ มีระบบบริการการพยาบาลที่เน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
๓.๕ มีระบบและกลไกกำกับดูแลให้พยาบาลปฏิบัติตามมาตรฐานการพยาบาลจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
๓.๓ มีการมอบหมายงานพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลเป็นลายลักษณ์อักษร
๓.๖ มีระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศในการบริหาร การบริการและการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
๓.๒ มีพยาบาลวิชาชีพเป็นหัวหน้าทีมวางแผนให้บริการการพยาบาลที่อยู่ในความดูแล
๓.๑ จัดระบบบริการการพยาบาลที่คำนึงถึงคุณภาพและความปลอดภัย
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
๔.๑ มีนโยบายและแผนการจัดการคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์กำหนดไว้ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร
๔.๒ มีระบบบริหารคุณภาพและความปลอดภัยของบริการการพยาบาล
๔.๓ มีระบบกำกับ ติดตาม ประเมินผลลัพธ์การพยาบาลและนำผลไปพัฒนาคุณภาพการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๒ ทรัพยากรและสิ่งสนับสนุน
๒.๓ มีระบบและกลไกการคัดสรรและพัฒนาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ
๒.๔ มีการบริหารจัดการอัตรากำลังพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลต่อผู้รับบริการ
๒.๕ มีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรที่โปร่งใสและเป็นธรรม
๒.๖ มีแผนการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรอย่างต่อเนื่อง
๒.๗ มีบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม ปลอดภัย
๒.๘ มีสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติงานของพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลตามมาตรฐานวิชาชีพ
๒.๙ มีที่พักอาศัยสำหรับพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลที่เหมาะสมและปลอดภัย
๒.๑๐ มีระบบและกลไกในการธำรงรักษาบุคลากร
๒.๒ มีการกำหนดคุณสมบัติ บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลในแต่ละตำแหน่ง
๒.๑ มีพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลที่เพียงพอทั้งจำนวน คุณสมบัติและสมรรถนะเหมาะสมกับลักษณะงาน
มาตรฐานที่ ๑ องค์กรและการบริหารองค์กร
๑.๔ มีการกำหนดบทบาท อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารการพยาบาลทุกระดับชัดเจนในการจัดและส่งเสริมคุณภาพบริการการพยาบาล
๑.๖ มีงบประมาณเพียงพอในการบริหารจัดการงานการพยาบาลและการพัฒนาบุคลากร
๑.๔ มีการกำหนดบทบาท อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารการพยาบาลทุกระดับชัดเจน
๑.๗ มีการกำหนดระบบและกลไกการดำเนินงานที่เกิดจากการมีส่วนร่วมของบุคลากรและการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๑.๓ มีผู้บริหารสูงสุดขององค์กรเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
๑.๒มีองค์กรพยาบาลเพียงองค์กรเดียวในสถานพยาบาลและมีการกำหนดโครงสร้างการริหารงานองค์กรพยาบาลที่ชัดเจน
๑.๘ มีระบบการส่งเสริมเอกสิทธิ์ในการปฏิบัติการพยาบาล การคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
๑.๑ มีองค์กรพยาบาลในโครงสร้างการบริหารของสถานพยาบาลที่ขึ้นตรงต่อผู้บริหารสูงสุดของสถานพยาบาล
นางสาวอานีซะหื คาร์เดร์ รหัส 604N46225
มาตรฐานเชิงกระบวนการ หมวดที่ ๒ การปฏิบัติการพยาบาล (Nursing practices) :red_flag:
มาตรฐานที่ ๓ ระบบบริการการพยาบาล
๓.๒ พัฒนานวัตกรรมการพยาบาลที่ตอบสนองต่อการให้บริการการพยาบาลแต่ละกลุ่มโรค
๓.๓ ทบทวน ประเมินและปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
๓.๑พัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลให้ถูกต้องเหมาะสมทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิชาการ
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
๔.๓ ส่งต่อการดูแลผู้รับบริการที่ต้องการการดูแลต่อเนื่องทั้งภายในและภายนอกสถานพยาบาล
๔.๔ มีระบบติดตามการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและ/หรือในชุมชน
๔.๒ พัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของผู้รับบริการและผู้เกี่ยวข้อง
๔.๔ มีระบบติดตามการดูแลต่อเนื่องที่บ้านและ/หรือในชุมชน
๔.๑ ประเมิน วางแผนและจัดการการดูแลต่อเนื่องร่วมกับทีมสุขภาพผู้รับบริการครอบครัว
มาตรฐานที่ ๒ ทรัพยากรและสิ่งสนับสนุน
๒.๑ ปฏิบัติการพยาบาลโดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
๒.๒ มีการสร้างเสริมให้พยาบาลปฏิบัติการพยาบาลบนพื้นฐานจริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๒.๓ มีการปกป้องและรักษาไว้ซึ่งสิทธิผู้ป่วย สิทธิที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและการรักษาพยาบาลของผู้รับบริการ
มาตรฐานที่ ๕ การบันทึกและรายงานการพยาบาล
๕.๒ ต้องบันทึกข้อมูลสำคัญที่สอดคล้องกับปัญหาและความต้องการของผู้รับบริการที่ถูกต้องเป็นจริงและมีความต่อเนื่อง
๕.๓ บันทึกและรายงานการพยาบาล สามารถใช้สื่อสารในทีมการพยาบาล
๕.๑ บันทึกการพยาบาล ต้องมีข้อมูลสำคัญ ๔ ส่วน
กิจกรรมการพยาบาล
ความต้องการของผู้รับบริการ
การประเมินภาวะสุขภาพกำหนดปัญหา
การประเมินผลภายหลังปฏิบัติการพยาบาล
๕.๔ มีการติดตามประเมินและพัฒนาคุณภาพการบันทึกและรายงานการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
มาตรฐานที่ ๑ องค์กรและการบริหารองค์กร
๑.๓ ใช้แนวปฏิบัติการพยาบาล หลักฐานเชิงประจักษ์และความรู้จากการวิจัย
มาประยุกต์ใช้
๑.๔ ใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในการวางแผนแก้ปัญหาด้านสุขภาพของผู้รับบริการเป็นรายบุคคล
๑.๒ ใช้กระบวนการพยาบาลเป็นเครื่องมือในการให้การพยาบาลผู้รับบริการ
๑.๕ ให้ผู้รับบริการและครอบครัวมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและกำหนดแผนการดูแล
๑.๑ ปฏิบัติการพยาบาลแบบองค์รวม คำนึงถึงหลักมนุษยธรรมและยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
๑.๖ มีการประสานความร่วมมือระหว่างทีมการพยาบาลทีมสหสาขาวิชาชีพและเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง
มาตรฐานเชิงผลลัพธ์หมวดที่ ๓ ผลลัพธ์การพยาบาล (Nursing Outcome) :red_flag:
มาตรฐานที่๑ การกำหนดตัวชี้วัดสำคัญ
๑.๒ ด้านผู้ให้บริการ
ความปลอดภัยในการทำงาน
การร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ความพึงพอใจของพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาล
ภาวะสุขภาพของพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาล
๑.๓ ด้านชุมชน
ความสามารถในการดูแลสุขภาพของบุคคล
ผลจากการให้บริการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน
ความรู้ของผู้รับบริการเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ
๑.๑ ด้านผู้รับบริการ
ความทุกข์ทรมา
การจัดการความปวดความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง
การได้รับการบรรเทาอาการรบกวน
ความปลอดภัยจากอุบัติการณ์ที่ไม่พึงประสงค์
ภาวะแทรกซ้อนความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อบริการพยาบาล
๑.๔ ด้านองค์กร/การบริหารงาน
การมีอัตรากำลังพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลตามเกณฑ์สภาการพยาบาล
ความคงอยู่ของพยาบาล
การบรรลุผลลัพธ์ตามแผนกลยุทธ์
การพัฒนาสมรรถนะอย่างต่อเนื่องการเผยแพร่นวัตกรรม
มาตรฐานที่ ๒ การบริหารจัดการผลลัพธ์การพยาบาล
ที่ ๒.๒ มีการวิเคราะห์ ติดตามผลลัพธ์การพยาบาลตามหลักวิชาการมีการสังเคราะห์และประมวลผล
๒.๓ มีการนำผลลัพธ์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา การวางแผนและการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
๒.๑ มีระบบการคัดเลือกตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับบริบทขององค์กร เหมาะสมกับระดับการบริการการพยาบาล