Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รกค้าง (Retauned Placenta) ภาวะที่รกไม่คลอดภานใน 30 นาทีหลังจากทารกคลอด -…
รกค้าง (Retauned Placenta) ภาวะที่รกไม่คลอดภานใน 30 นาทีหลังจากทารกคลอด
สาเหตุ
การขาดกลไกการลอกตัว
1.1 รกปกติ แต่มดลูกไม่มการหดรัดตัว รกจึงไม่ลอกตัวหรือลอกตัวไม่สมบูรณ์ มีสาเหตุที่พบได้บ่อยๆ
Full bladder
Prolong Labor
มารดาอ่อนเพลีย ขาดอาหารและสารน้ำ
มารดาได้รับยาระงับปวดหรือยาสลบมากเกินไป
รกเกาะบริเวน Cornu หรือมดลูกส่วนล่างซึ่งมีแรงการหดตัวไม่ดีเท่าส่วน Fundus และ Corpus
1.2 รกผิดปกติ
1.2.1 Placenta Adherens รกติดเนืองจากมีการฝังตัวของเซลล์ Trophoblast ลึกกว่าปกติ
Placenta Accreta ชนิดที่Trophoblast ฝังตัวไปจนถึงชั้น Spongiosa แต่
ไม่ถึงชั้นกล้ามเนื้อ
Placenta iccreta ชนิดที่Trophoblast ฝังตัวไปจน
ถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูกแต่ไม่ถึงชั้น Serosa
Placenta percreta ชนิดที่Trophoblast ฝังตัวทะลุชั้นกล้ามเนื้อไปจน
ถึงชั้น Serosa
1.2.2 Placenta Membranacea รกที่มีขนาดแผ่นกว้างใหญ่และบางกว่าปกติ ทำให้รกสามารถย่นยู่ไปตามการหดรัดตัวของมลูกได้ ทำให้ไม่เกิดแรงดึงรั้งที่ทำให้ชั้น spongiosa ฉีกขาดและรกลอกตัว
1.2.3 Placenta succenturiata หรือ Placenta spurium รกที่มีรกน้อย โดยส่วนของรกน้อยอาจจะค้างอยู่มนโพรงมดลูก
การขาดกลไกการขับดัน
2.1 รกลอกตัวแล้วแต่ไม่อาจผ่านออกมาจากโพลงมดลูกได้
Cervica Cramp
Constricrion ring
2.2 รกลอกตัวแล้ว ผ่านโพรงมดลูกออกมาอยู่ในช่องคลอด เนื่องจากมารดาไม่เบ่งผลักรกที่ลอกตัวแล้วให้คลอดออกมาเองตามธรรมชาติขอการคลอดรก
สาเหตุส่งเสริมอื่นๆ
3.1 ทำคลอดรกก่อนรกลอกตัวสมบูรณ์
3.2 มีประวัติรกค้าง
3.3 เคยขูดมดลูก
3.4 มีผนังกั้นพายในโพรงมดลูก (Bicornuate Uterus)
อาการและอาการแสดง
ไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัวหรือมีเพียงเล็กน้อยหลังทารกคลอดนาน 15-30 นาที
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังคลอด
มีเลือลดออกจากช่องคลอดจำนวนมาก หลังจากรกคลอด
บางส่วนของเนื้อรกและMembranes ขาดหายไป
มารดามีอาการและอาารแสดงของภาวะช็อค กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเรร็ว ตัวเย็นซีด เหงื่อออก BP drop GCS ลดลง
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อลูก
การส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า
ทารกได้รับความอบอุ่นจากแม่ล่าช้า
ผลกระทบต่อมารดา
เสี่ยงต่อการถูกตัดมดลูกเนื่องจากรกฝังตัวลึกกว่าปกติ
ติดเชื้อหลังคลอดจากการล้วงรก
ตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
ซักประวัติเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะรกค้าง เช่น มีประวัติรกค้าง
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ลอกตัวแล้วแต่ค้างอยู่ในช่องคลอด ตรวจsign การลอกตัวของรก ถ้ามีแสดงว่าขาดกลไกธรรมชาติที่จะคลอดรก เช่น แรงเบ่งหรือขาดการช่วยเหลือการคลอดรก
ช่วยเหลือคลอดรกที่ยังค้างอยุ่ในโพรงมดลูก เมื่อตรวจแล้วไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัวสมบูรณ์
3.1 ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก ถ้าไม่มีการหดรัดตัวหรือหหดรัดตัวไม่เต็มที่
3.1.1 สวนปัสสาวะ
3.1.2 ถ้าสวนปัสสาวะแล้วมดลูกยังหดรัดตัวไม่ดี ใช้มือคลึงเบาๆ ที่ยอดมดลูก ห้ามคลึงแรงเพราะมดลูกอาจจาะหดรัดตัวผิดปกติ
3.2 รกยังไม่คลอดแสดงว่า
รกลอกตัวแล้วแต่ไม่สามารถผ่านโพรงมดลูกออกมาได้
รกลอกตัวเองไม่ได้
3.3 ผู้ทำคลอดสอดนิ้วมือเข้าไปในช่องคลอด เพื่อตรวจดูสภาพของปากมดลูกว่ามี Cervical cramp จนขัดขวางการเคลื่อนต่ำของรกหรือไม่
3.4 ลองทำคลอดโดยวิธีดึงสายสะดือ (Control cord traction) ถ้าลองดึงดูแลรกยังติดอยู่ห้ามดึงต่อไปด้วยกำลังแรงเพราะสายสะดืออาจขาดหรือมดลูกปริ้นหรือมีเศษรกค้างอยู่ภายในมดลูก
ตัวอย่างข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะรกค้างเนื่องจากมีประวัติรกค้างหรือมีประวัติขูดมดลูก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะตกเลือดหรือมดลูกปลิ้นเนื่องจากภาวะรกติดแน่น
มีโอกาศติดเชื้อหลังคลอดเนื่องจากภาวะรกค้างและต้องล้วงรก
มารดาและครอบครัวมีความวิตกกังวล/กลัว เนื่องจากมีภาวะรกค้าง