Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ - Coggle…
การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Biophysical Assessment
Ultrasound
การใช้คลื่นเสียงที่มีความถี่สูงผ่านผิวหนังเข้าไปเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจ ดูขนาดขอบเขต รูปร่าง การเคลื่อนไหวของอวัยวะ
ข้อบ่งชี้ Ultrasound ด้านมารดา
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ในระยะเริ่มแรก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
ตรวจดูตําแหน่งที่รกเกาะ
ตรวจดูภาวะแฝดนํ้า / นํ้าครํ่าน้ำอยู่
ข้อบ่งชี้ Ultrasound ด้านทารก
ตรวจดูความผิดปกติของทารกในครรภ์
เพื่อวินิจฉัยภาวะทารกตายในครรภ์
เพื่อดู lie position และส่วนนําของทารกใน
เพื่อตรวจดูจํานวนของทารกในครรภ์
การแปลผล Ultrasound
ขนาดของถุงการตั้งครรภ์
(Gestational Sac : GS)
ความยาวของทารก
(Crown-rump lerght : CRL)
Biparietal diameter : BPD
ความยาวของกระดูกต้นขา (Femur length : FL)
เส้นรอบท้อง(Abdominal circumference : Ac)
Fetal Biophysical profile
(BPP)
วิธีนับลูกดิ้น
Count to ten
การนับการดิ้นของทารกในครรภ์ให้ครบ
10 ครั้ง ในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงต่อกัน
Cardiff count to ten
นับจํานวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้ง ในเวลา 4
ชั่วโมง
ข้อดี คือถ้ามีปัญหาจะสามารถให้การดูแลได้
ทันทวงที
ให้คําแนะนํา
การนับลูกดิ้น 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1
ชั่วโมง
การที่ลูกดิ้นน้อยลง
Biochemical Assessment
Amniocentesis
การตรวจวินิจฉัย
ก่อนคลอดโดยเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซมทารกในครรภ์ที่ผิดปกติ เช่น ตั้งครรภ์อายุตั้งแต่ 35 ปี โรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
วิธีการเจาะ
ทําโดยวิธีการปราศจากเชื้อ เจาะโดยใช้เข็มขนาดเล็กเจาะผ่านหน้าท้อง
ทําเมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
ปวดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อย มีเลือดหรือน้ำคร่ำออกทางช่องคลอด โอกาสแท้ง ทารกตาย หรือเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
กลุ่มเลือด Rh negativeมารดาสร้างภูมิต้านทานต่อเม็ดเลือดแดง
คําแนะนําหลังการเจาะ
ควรสังเกต และมาพบแพทย์หากมีอาการเหล่านี้ ปวดเกร็งหน้าท้องมาก ไข้ภายใน 2 สัปดาห์ มีนํ้าหรือเลือดออกทางช่องคลอด
• พักหลังจากการเจาะ1
บทบาทของพยาบาล
ดูแลให้ปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ดูแลจัดท่า วัดความดันโลหิต และฟังเสียงหัวใจของทารก
จัดเตรียมอุปกรณ์ให้สะอาดปราศจากเชื้อ
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
ดูVital signs 2 ครั้ง ห่างกัน 15 นาที
Amniotic fluid analysis
ดูความสมบูรณ์ของปอด
ดูสีของน้ำคร่ำมีเลือดปน ใสหรือขุ่น มีสีของขี้เทาปนหรือไม่
การตรวจหาค่า L/S ratio
Shake Test
การตรวจหาค่า L/S ratio
การตรวจหาค่า L/S ratio เพื่อดู lung maturity
สัดส่วนของ L/S จะเท่าๆกัน จนกระทั่ง 30 สัปดาห์ หลังจากนั้นsphingomyelin จะเริ่มคงที่ขณะที่ lecithin จะเพิ่มขึ้น surfactant ทําหน้าที่ป้องกันการเกิด collapse ของ alveoli ในขณะที่มีการหายใจออก
ค่าปกติของ L/S rotio
26 สัปดาห์ แรกของการตั้งครรภ์ ค่า S >L
อายุครรภ์ 26-34 สัปดาห์ ค่า L / S ratio = 1:1
อายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์ ค่า L จะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว็ว แต่ S จะมีปริมาณลดลงเล็กน้อย ทําให้ ratio สูงขึ้น
L/S / S ratio > 2 แสดงว่าปอดทารกสมบูรณ์เต็มที่โอกาสเกิด
RDS ต่ำ
Alpha fetoprotein (AFP)
เป็นการตรวจเลือดมารดา ดูค่าโปรตีนที่สร้างมาจากรก
ค่าปกติAFP 2.0 – 2.5 MOM (Multiple of median)
ค่า AFP สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 15
ค่า AFP ตํ่า สัมพันธ์กับ Down’ syndrome
Fetoscopy
การส่องกล้องดูทารกในครรภ์หรือเรียกว่า laparo amnioscope สอดเข้าไปในถุงนํ้าครํ่าโดยผ่านผนังหน้าท้องของหญิงตั้งครรภ์
Electronic fetal monitoring
เครื่องมือ
หัวตรวจ มี 2 แบบ
Tocodynamometer หรือ tocometer จะเป็นส่วนที่
วางอยู่บนหน้าท้องมารดาบริเวณยอดมดลูก
ultrasonic transducer สําหรับฟังอัตราการเต้น
ของหัวใจทารกจะเป็นส๋วนที่วางอยู่บนหน้าท้อง
บริเวณหัวใจทารก
การเต้นของหัวใจทารกและคําต่างๆ
ที่เป็นสากล
Baseline fetal heart rate ปกติ110 – 160
ครั้ง/นาที
Tachycardia > 160 ครั้ง/นาที
Bradycardia < 110 ครั้ง/นาที
Variability
อัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการ
เปลี่ยนแปลง
Absent : ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
Minimal : มีการเปลี่ยนแปลง 0 ถึง 5 beat /
min
Moderate : มีการเปลี่ยนแปลง 6 ถึง 25
beat/min
Marked : มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า 25
beat
acceleration
อายุครรภ์ > 32 สัปดาห์มากกว่าหรือเท่ากับ
15 bpm
deceleration
Early deceleration
การลดลงของ FHR สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของ
มดลูก
Late deceleration
การลดลงของ FHR ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัว
ของมดลูกการลดลง
Variable deceleration
การลดลงของ FHR โดยอาจจะสัมพันธ์กับการหด
รัดตัวของมดลูกหรือไม่ก็ได้ ไม่นานเกิน 2 นาที
Prolonged deceleration
การลดลงของ FHR นานอย่างน้อย 2 นาทีแต่ไม่
ถึง 10 นาที
แนวทางการดูแลรักษา
จัดท่ามารดา โดยทั่วไปนิยมให้มารดานอนใน
ท่าตะแคงซ้าย
แก้ไขเมื่อมีภาวะ uterine hyperstimulation
หยุดการให้ยา oxytocin
ให้ออกซิเจนแก้มารดาผ่านทางหน้ากากใน
อัตรา 8-10 ลิตร/นาที
ทําการประเมินการเต้นของหัวใจทารกตลอด
เวลา
Non-Stress Test (NST)
ข้อบ่งชี้
ตั้งครรภ์เกินกําหนด( post term)
ทารกเติบโตช้าในครรภ์ (intra uterine growth
retardation)
มารดามีโรคประจำตัว
มารดามีอายุมากกว่า 35 ปี
ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
การแปลผล (NST)
Reactive
มี acceleration (การเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้น
ของหัวใจมากกว่า 15 ครั้ง/นาที
มี baseline FHS ระหว่าง 120-160 ครั้ง/นาที
มี long term variability ที่ปกติ (6-25 bpm.)
ไม่มี deceleration ของการเต้นของหัวใจทารก
Non-reactive
ผลที่ได้จากการทดสอบ
ไม่ครบตามข้อกําหนดของ reactive NST
• Suspicious
มีการเพิ่มของอัตราการเต้น
ของหัวใจน้อยกว่า 2 ครั้ง
Uninterpretable
คุณภาพของการ
ทดสอบไม่สามารถแปลผลได้ตามข้อกําหนด
การพยาบาลหลังการตรวจ
Non-Stress Test (NST)
รายงานผลการตรวจให้แพทย์
ผล reactive ควรนัดหญิงตั้งครรภ์มาตรวจซํ้าอีก
สัปดาห์ละ 1 ครั้ง
ถ้าผลการตรวจเป็น suspicious ควรตรวจซํ้า
ภายใน 24 ชั่วโมง
Contraction Stress test ; CST
การทดสอบดูการเปลี่ยนแปลงของอัตราการ
เต้นของหัวใจทารก ในครรภ์ขณะที่มดลูกหดรัดตัว
การแปลผล
Negative
มี UC 3 ครั้งใน10 นาทีโดยไม่มี late
deceleration
Positive
พบ late deceleration ทุกครั้งในระยะ
ช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูก
Suspicious
มี late deceleration แต่ไม่เกิดขึ้นทุก
ครั้งของการหดรัดตัวของมดลูก
Unsatisfactory
เส้นกราฟไม่มีคุณภาพเพียงพอ
หรือ UC ไม่ดีพอ
การติดตามผล CST
Negative
ทารกอยู่ในสภาพปกติแนะนํานับลูก
ดิ้นและตรวจซํ้าใน 1 สัปดาห์
Positive
ทารกอยู่ในสภาพพร่องออกซิเจน
ช่วยเหลือโดย Intrauterine resuscitation