Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจรก การตรวจการฉีกขาดช่องทางคลอด การตรวจการหดรัดตัวของมดลูก,…
-
-
การตัดและซ่อมแซมฝีเย็บ
-
-
1.3 ประโยชน์ของการตัดฝีเย็บ 1.3.1 ป้องกันการฉีกขาดของ Perineal body, External anal sphincter และผนังของ rectum 1.3.2 ป้องกันการฉีกขาดหรือการยืดหย่อนของ Pelvic floor
-
1.5 ชนิดของการตัดฝีเย็บ 1.5.1 Lateral episiotomy เป็นการตัดจาก posterior fourchette ไปทางด้านข้างขนานกับแนวราบ 1.5.2 Median episiotomy เป็นการตัดจาก posterior fourchette ลงไปตามแนวดิ่ง 1.5.3 Medio - Lateral episiotomy เป็นการตัดจากจุด posterior fourchette ลงไป
1.6 เวลาที่เหมาะสมในการตัดฝีเย็บ ในกรณีที่คลอดปกติ ไม่ควรตัดฝีเย็บเร็วเกินไป เพราะจะทำให้สูญเสียเลือด และในรายที่ใช้เครื่องมือช่วยคลอด ควรใส่เครื่องมือให้เรียบร้อย และลองดึงประมาณ 1-2
1.7 วิธีการตัดฝีเย็บ ใช้นิ้วชี้ นิ้วกลางของมือซ้าย สอดระหว่างฝีเย็บและส่วนนำของทารกแล้วจึงสอดกรรไกรเข้าไปตัด และตัดฝีเย็บผ่านผิวหนังและกล้ามเนื้อภายใน superficial perineal compartment
1.8 ข้อควรระวังในการตัดฝีเย็บ 1.8.1 ต้องตัดให้แผลยาวพอ 1.8.2 ระวังตัดถูกกล้ามเนื้อรอบหูรูดทวารหนัก ( Sphinctor ani) 1.8.3 เริ่มตัดจากตรงกลางของ Fourchette
-
1.10 การพยาบาลขณะที่ตัดฝีเย็บ สังเกตฤทธิ์ข้างเคียงของยาชา ซึ่งเกิดจากฉีดยาเข้าหลอดเลือด อาการได้แก่ ซึม กระตุกใบหน้า และสังเกตปริมาณเลือดที่ออกจากฝีเย็บ ถ้าออกมาก ควร stop bleeding
- การซ่อมแซมฝีเย็บ (Perineorrhaphy
-
2.2 ระดับการฉีกขาดของฝีเย็บ 2.2.1 First degree tear เป็นการฉีกขาดของผิวหนังที่ฝีเย็บ 2.2.2 Second degree tear เป็นการฉีกขาดของชั้นผิวหนัง เยื่อบุ พังผืด 2.2.3 Third degree tear เป็นการฉีกขาดกล้ามเนื้อเนื้อหูรูดทวารหนัก 2.2.4 Fourth degree tear เป็นการฉีกขาดกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักจนถึงผนังของ Rectum
-
-
-
การคาดคะเนการเสียเลือด
ภาวะตกเลือดหลังคลอด หมายถึง การเสียเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 500มิลลิลิตร จากกระบวนการคลอดปกติและมากกว่าหรือเท่ากับ 1,000 มิลลิลิตร จากการผ่าตัดคลอด รวมถึงการวินิจฉัยจากความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงที่ลดลงมากกว่าร้อยละ 10 จากก่อนคลอดและจากอาการแสดงถึงการช็อกจากการเสียเลือด (WHO, 2012; Queensland Maternity and NeonatalClinical Guideline, 2012) เมื่อเกิดภาวะตกเลือดทำให้เกิดการสูญเสียเลือดปริมาณมากส่งผลให้เซลล์ต่างๆ ในร่างกายขาดออกซิเจนและเสียสมดุล โดยเฉพาะสมองส่วนไฮโปทาลามัสและต่อมใต้สมองที่ส่งผลต่อฮอร์โมนสำคัญในระยะหลังคลอด ถ้าได้รับการรักษาที่ล่าช้าจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ได้แก่ Sheehan’s syndrome โลหิตจางรุนแรง ช็อก ทุพพลภาพ และเสียชีวิตได้
-
-
- การส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างบิดามารดาทารกและสมาชิกในครอบครัว
การให้ลูกดูดนมแม่ภายใน 1 ชั่วโมงหลังเกิดจากงานวิจัยจากประเทศสวีเดนพบว่าหากริมฝีปากของลูกแตะหัวนมแม่ในชั่วโมงแรกของชีวิตแม่ตัดสินใจให้ทารกอยู่ในห้องเดียวกับแม่ขณะอยู่ในโรงพยาบาลนานกว่าแม่ที่ไม่มีโอกาสให้ลูกดูดนมแม่แม่และลูกประสบความสำเร็จในการให้นมแม่มากจกนมแม่นานกว่าการให้แม่สัมผัสลูกภายใน 30 นาทีหลังคลอดเหตุผลที่ 40 นาทีหลัง 6 33/35 เนกสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูกนั้นเนื่องจากทารกในระยะ 40 นาทีหลังคลอดจะอยู่ในระยะตื่นนสะสม (Guiet alert state) โดยทารกจะลืมตาโพลงและมองจ้องหากให้วางอยู่บนอกของมารดาสูงมีระยะห่างกัน 8 นิ้วซึ่งเป็นระยะที่ใกล้พอที่ทารกมองเห็นจะทำให้เกิดการสัมผัสทางตา (Eye-to-eye contact ที่ส่งเสริมให้มีการสร้างสายสัมพันธ์ในระยะ 40 นาทีหลังคลอดทารกมีแรงดูดนม (suckling) ที่แรงมากหากวางทารกบนหน้าท้องมารตาทารกมีรีเฟล็กซ์การคลาน (Crawling reflex) คลานไปยังเต้านมของมารตาและสามารถควานหาหัวนมและดูดนมมารดาการตูดนมในระยะนี้ช่วยสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูกหากมีการขัดขวางการดูดนมในระยะนี้อาจต้องใช้เวลาการนานเพื่อฝึกฝนทารกให้ดูดนม
นอกจากนี้การให้แม่และลูกใต้อยู่ด้วยกันในโรงพยาบาล (Roorning-in) ช่วยให้แม่เรียนรู้ความต้องการของลูกและรูปแบบการนอนของลูกจากการศึกษาพบว่าแม่ที่มีโอกาสอยู่กับลูกในระหว่างที่อยู่ในโรงพยาบาลยิ่งมากการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ประสบความสำเร็จเพิ่มขึ้นด้วยหากมีปัญหาที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในการทำให้มีการสร้างสายสัมพันธ์เช่นทารกเกิดก่อนกำหนดทำให้นอนหลับมากไม่ตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมและไม่ตื่นตัว (Alert) ซึ่งทำให้แม่เกิดความกังวลที่ส่งผลต่อกระบวนการสร้างน้ำนมและสภาพจิตใจของมารตาดังนั้นบุคลากรทางการแพทย์ควรส่งเสริมให้แม่พ่อและลูกมีการสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูกขณะอยู่ในโรงพยาบาลโดยให้แม่พ่อและลูกอยู่ด้วยกันอย่างส่วนตัวในชั่วโมงแรกหลังคลอดและระหว่างที่อยู่ในโรงพยาบาลให้การดูแลเพื่อช่วยประคับประคองแม่พ่อและทารกให้มีการสร้างสายสัมพันธ์ให้แม่มีส่วนร่วมในการดูแลลูกขณะอยู่ในโรงพยาบาลโดยให้ลูกอยู่กับแม่ให้มากที่สุด
ซึ่งการสร้างสายสัมพันธ์แม่ลูกโตยให้แม่และลูกมีการสัมผัสกันตั้งแต่อยู่ในห้องคลอดและอยู่ด้วยกันมากที่สุดขณะอยู่โรงพยาบาล (Rooring-in) ส่งผลให้ประสบความสำเร็จในการให้นมแม่เพิ่มขึ้นมารดาทิ้งลูกและทำทารุณกรรม (Abuse) น้อยลงแม่มีความสามารถในการดูแลลูกมากขึ้นลดภาระงานของพยาบาลลดการติดเชื้อในลูกและลูกกลับบ้านได้เร็วขึ้นขณะที่แม่เลี้ยงลูกด้วยนมแม่นั้นนอกจากก่อให้เกิดความผูกพันเนื่องจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างแม่และลูกที่มีลักษณะเฉพาะมีความใกล้ชิดด้วยการสัมผัสทางผิวหนัง (Skin-to skin contact) ขณะให้การดูแลและให้อาหารการตูตของลูกกระตุ้นให้แม่หลั่ง Prolactin ฮอร์โมนนี้ทำให้แม่มีความสงบและตอบสนองต่อความเครียดที่เกิดจาก adrenalin น้อยลงแม่ที่ได้สัมผัสลูกเร็วด้วยการให้ลูกตูตินมเร็วหลังคลอดแสดงพฤติกรรมของการสร้างสายพันธ์กับลูกมากกว่าแม่ที่ไม่ได้สัมผัสลูกเร็วและเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แล้วยังส่งผลต่อจิตใจของแม่ทำให้เกิดความสุขใจที่นมแม่ช่วยให้ลูกเติบโตและพัฒนาการได้ดีแล้วยังช่วยให้แม่ที่มีรายได้น้อยหมดความกังวลเรื่องค่าใช้จ่ายทั้งค่านมและการเจ็บป่วยของลูกพร้อมทั้งยังส่งเสริมให้แม่เห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem) เสียสละทุกอย่าง (ชีวิตและเวลา) เพื่อลูกแสดงพฤติกรรมความเป็นแม่ความผูกพันและใกล้ชิดกับลูกการโอบกอดลูกมากกว่าและทำทารุณกรรมลูกมีน้อยผลดังกล่าวมีผลต่อการพัฒนาด้านจิตใจและอารมณ์ของลูกที่เป็นพื้นฐานของการดำเนินชีวิตเมื่อโตปัญหาทางสังคมของวัยรุ่นมีผลจากการขาดความอบอุ่นความใกล้ชิดความผูกพันกับพ่อแม่เพราะพ่อแม่ไม่มีเวลาเลี้ยงเองและให้ผู้อื่นเลี้ยงแทนหรือส่งลูกเข้าสถานเลี้ยงเด็กหรือโรงเรียนก่อนวัยสมควร (อายุ 4 ปี) มีผลให้ลูกขาดผู้ดูแลอย่างใกล้ชิดไม่ได้รับความอบอุ่นทางใจและไม่ได้รับการถ่ายทอดวิธีตำรงชีวิตในสังคมจากแม่ที่มีจิตใจปรกติที่มีผลต่อการพัฒนาด้านจิตใจอารมณ์ที่เป็นพื้นฐานสำหรับดำเนินชีวิตเมื่อโตการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างจริงจังจะช่วยแก้ปัญหาต่าง ๆ หากผู้บริหารระดับประเทศต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของชาติ