Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
6.1 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน - Coggle Diagram
6.1 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อน
ภาวะหลอดเลือดดําอักเสบ (Thrombophlebitis)
อาการ
ปวดศีรษะ
มีไข้
เมื่อยล้า
กรณีที่เกิดที่ deep veins กดเจ็บที่กล้ามเนี้อลึกๆ เมื่อกระดกเท้าขึ้นจะรู้สึกปวดที่น่องมาก (Homan's signs = positive)
กรณีที่เกิดที่ superficial veins คลําดูรู้สึกอุ่นคล้ายเส้นด้ายและแข็ง กดเจ็บ อาจมีขาบวม ซีดและเย็น
สาเหตุ
ภาวะการแข็งตัวของเลือดมีมากกว่าปกติ
มีการคั่งของเลือดในหลอดเลือด
ผนังชั้นในของหลอดเลือดถูกทําลาย
การรกัษาและการให้การพยาบาล
ถ้าเกิดลิ่มเลือดขนาดใหญ่ แพทย์อาจพิจารณาทํา thrombolectomy
Force fluid
พันด้วย elastic bandage เวลาเดิน นอนยกเท้าสูงกว่าหัวใจ
ตรวจสอบ clotting time หรือ prothrombin time
bed rest 4-7 วัน
ยกปลายขาให้สูงเพื่อลด venous congestion บวม
ห้ามบีบนวดหรือออกกําลังกายบริเวณขาส่วนทีเกิดอาการ
ประคบด้วยความร้อน
กระตุ้นให้หายใจลึกๆ เพื่อกระตุ้น negative intrathrosic pressure ป้องกันการทีทําให้เลือดไหลเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาและกลับเข้าสู่หัวใจมากเกินไป
การตกเลือดหลังคลอด (post partum hemorrhage)
ระยะ
ระยะแรก (Early postpartum hemorrhage/Immediate postpartum hemorrhage/Primary postpartum hemorrhage)
หมายถึง เกิดการตกเลือดภายใน 24 ชวั โมงแรกหลังคลอด
สาเหตุ
การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
การได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด เช่น heparin
Thrombocytopenic purpura (ITP)
โรคต่างๆ เช่น hemophilia , aplastic , มะเร็ง เม็ดเลือดขาว , idiopathic
DIC (Disseminated intravascular coagulation) เช่น ภาวะรกลอกตัวก่อนกําหนด ทารกตายในครรภ์ ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์)
รกหรือเศษรกค้างในโพรงมดลูก (retained placenta tissue)
แบ่งออกเป็น
เกิดจากการช่วยคลอดรกอย่างไม่ถูกต้อง
เศษรกค้างในโพรงมดลูก (retained pieces of placenta) เนื่องจากมี cervical cramp หรอื constriction ring
ภาวะรกค้างมักพบในรายที่รกเกาะลึกผิดปกติ (placenta adherence) โดยรกเกาะติดกับชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
รกลอกตัวแล้วค้างในโพรงมดลูกทั้งอัน (retained placenta tissue)
มีรกน้อย เชน่ placenta succenturiata placenta spurium
สาเหตุ
การทําหัตถการทางสูติศาสตร์
การคลอดบุตรตัวโต (macrosomia)
เกิดจากการตัดแผลฝีเย็บไม่ถูกวิธี
การทําคลอดและการช่วยคลอดไม่ถูกวิธี
การคลอดเร็วผิดปกติ (precipitate labour)
มดลูกไม่หดรัดตัว (uterine atony)
ปัจจัย
มีการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก
มีแผลทีตัวมดลูก
การคลอดที่ใช้หัตถการต่างๆ
ระยะคลอดยาวนาน (prolonged labour)
มดลูกปลิ้น (uterine invertion)
มดลูกขยายหรือยืดตัวมากเกินไป (overdistension of uterus) คลอดเร็ว ผิดปกติ (precipitate labour)
มีประวัติการตกเลือดในครรภ์ก่อน
รกลอกตัวก่อนกําหนด (abruption placentae) กระเพาะปสสาวะโปงตึงมาก (Full bladder)
มีเน่าองอกที่ตัวมดลูก
การใช้ยาชนิด เชน่ Oxytocin induced labour
ระยะหลัง (Late/Secondary postpartum hemorrhage)
สาเหตุ
มดลูกไม่เข้าอู่ (subinvolution of uterus) การอักเสบในโพรงมดลูก (endometritis)
มีเศษรกค้างหรือเศษเยื้อหุ้มทารกค้าง (retained products of conceprion)
เนื้องอกของมดลูก (myoma of uteri)
ตกเลือดภายหลัง 24 ชวั โมงหลังคลอดไปแล้ว
หมายถึง
ตกเลือดภายหลัง 24 ชั่วโมงหลังคลอดไปแล้ว จนถึง 6
สัปดาหห์ หลังคลอด ส่วนใหญ๋พบในระยะหลังคลอดประมาณ 1-2 สัปดาห์
การรักษา
กรณีเลือดออกไม่หยุด อาจต้องทําการผ่าตัดผูกเส้นเลือดแดง หรอื ตัดมดลูกออก
ใหย้ าปฎิชวี นะ
การขูดมดลูกในกรณีทีมีรกค้าง (dilatation and curettage)
อาการและภาวะแทรกซ้อน
ขาดเลือดไปเลี้ยงต่อมใต้สมองส่วนหน้า เกิดภาวะ sheehan's
syndrome
เกิดภาวะซีด
Hemorrhagic / Hypovolemic shock
การตกเลือดที่ควบคุมไม่ได้ อาจต้องตัดมดลูกหรือเสียชีวิต
สาเหตุและปัจจัยเสริม
5T
Thrombin : ความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือด
ssue : รกค้างหรือเศษรกค้างภายในโพรงมดลูก
Tone : ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ คือ มดลูกหดรัดตัวไม่ดี (uterine atony)
Trauma / Tear : บาดแผลฉีกขาดของทางคลอด
Traction : uterine inversion
การรักษา
retained foley catheter เพี่อดูปริมาณปัสสาวะและการทํางานของไต :
ให้เลือด
หาสาเหตุและหยุดการเสียเลือด
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา
ให้ออกซิเจนและติดตาม Pulse oximeter และ oxygen saturation
การพยาบาล
หาสาเหตุของการตกเลือดหลังคลอดโดยเร็วที่สุด
มีอาการแสดงของภาวะช็อก ได้แก่ Tachycardia ซีด ชีพจรเบาเร็ว หายใจเร็วในช่วงแรก หลังจากนันหายใจช้า ความดันโลหิตต่ำ เหลือออก ใจสั่น ตัวเย็น รู้สึกกกระหายน้ำ ปัสสาวะออกน้อย
Routine postpartum care และ record V/S ทุก 15 นาที จนกว่าจะ stable
ภาวะมดลูกเข้าอู่ช้า(subinvolution of uterus)
สาเหตุ
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ไดี
มีเศษรกหรือเยื้อหุ้มรกค้าง
มีการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
ไม่ได้เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
มีเนื้องอกที่มดลูก
น้ำคาวปลาไหลไม่สะดวก
อาการ
ยอดมดลูกยังสูงกว่า ระดับกระดูกหัวหน่าว
น้ำคาวปลาผิดปกติ (สีไม่จางลงใน2สัปดาห์)
หมายถึง
มดลูกหยุดการยุบตัวลง (arrest)
หรอื มีความผิดปกติของระดับยอดมดลูกไม่สามารถกลับเข้าสู่สภาพปกติเ หมือนก่อนมดลูกจะลดขนาดลงวันละประมาณ 1/2-1นิ้ว และจํากลับเข้าสู่อุ้งเชิงกรานประมาณวันที่ 10-14 วันหลังคลอด)
ภาวะมีเลือดคั่งแผลฝีเย็บ (Vulva hematoma)
การพยาบาล
ให้ยา antibiotics
retained foley catheter
observe vulva hematoma
ดูแลความสุขสบายของผู้ปวย ให้ยาแก้ปวด
การรักษา
กรณีก้อนเลือดขนาดเล็ก จะสามารถดูดซึม(absort)ได้เองอาจจะประคบด้วยความเย็นและความร้อนเพื่อลดอาการบวม
กรณีก้อนเลือดขนาดใหญ่ จําเป็นต้องได้รับการผ่าตัด ระบายเอาก้อนเลือดออก (I&D) และต้อ งได้รับการซ่อมแซม หลอดเลือดที่เป็นสาเหตุให้เกิด Hematoma แพทย์อาจพิจารณาให้ antibiotics เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
อาการ
ปัสสาวะลําบาก
ปวดหน่วงบริเวณทวารหนัก
บริเวณช่องคลอดและฝีเย็บมีอาการบวม อาจพบก้อนเลือดและมีขนาดโตมากขึ้น
มีอาการปวดบริเวณช่องคลอดและฝีเย็บ
ไม่สามารถบรรเทาอาการได้ด้วยยาแก้ปวด
สาเหตุ
บีบคลึงมดลูกรุนแรงทําให้เลือดคั่งที่ connective tissue ใต้เยื่อบุช่องท้องและใน broad ligament
เย็บซ่อมบรเิวณที่มีการฉีกขาดหรือตัดฝีเย็บไม่ดี
มีการบาดเจ็บจากการคลอดกทั้งในรายคลอดปกติหรือสูติศาสตร์ หัตถการ
เกิดจากการกระทบกระแทกบรเิวณช่องคลอดและบรเิวณฝีเย็บ
ความหมาย
ภาวะที่มีเลือดออกในชั้นเนือเยือบริเวณช่องคลอดและบริเวณช่องคลอด และบริเวณฝีเย็บ อาจจะเกิดเกิดการฉีกขาดของหลอดเลือดดํา มักมีขนาดใหญ่และสามารถคลําได้เปนก้อน