Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อ HIV ร่วมกับการตั้งครรภ์, :<3: นางพิชญา สานต๊ะ เลขที่ 49 : …
โรคติดเชื้อ HIV ร่วมกับการตั้งครรภ์
สาเหตุ
ฝากครรภ์ช้าทำให้การวินิจฉัย
ล่าช้า ได้รับยาต้านไวรัสช้า
ไม่มาฝากครรภ์
การติดเชื้อจากเพศสัมพันธ์
สัมผัสเลือด สารคัดหลั่ง
Human Immunodeficiency Virus
กินยาต้านไวรัสและการรัษาไม่สม่ำเสมอ
อาการและ
อาการแสดง
ตับ ม้ามโต ผิวหนังอักเสบ
เจ็บป่วยบ่อยภูมิคุ้มกันต่ำ
ท้องเสียเรื้อรัง ฝ้าขาวเชื้อรา
ในปากเชื้อราในปอด สมอง
ทารกพัฒนาการล่าช้า
ผลกระทบ
โรคต่อการตั้งครรภ์
เพิ่มการแท้งบุตร ทารกโตช้าในครรภ์
ทารกตายคลอด เพิ่มอัตราทารก
ตายปริกำหนด คลอดก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักน้อย
การตั้งครรภ์ต่อโรค
ระหว่างตั้งครรภ์ CD4ลดลง
และจะเพิ่มขึ้นเท่าเดิมเมื่อหลังคลอด
พบภาวะ HIV-related illness
weight loss, oral hairy ,
leukoplakia และ herpes zoster infection
เพิ่มขึ้น
การตั้งครรภ์ควรมี viral load น้อยกว่า
50 copies/mL , CD4 > 350 cell/mm3
การวินิจฉัย
สามารถตรวจวินิจฉัยหลังสัมผัสเชื้อ 1 เดือน
Window period เปลี่ยนจาก 3 เดือนเป็น 6 เดือน
กรณี inconclusive ให้นัดตรวจ 2 wk และ1เดือน
หากผล inconclusive คือไม่ติดเชื้อ
การตรวจ DNA PCR ในเด็ก ตรวจเมื่ออายุไม่เกิน 7 วัน
(eMTCT programe)
ปัจจัยที่มีผลต่อการ
ติดเชื้อของทารกในครรภ์
ระยะก่อนคลอด
(antepartum factors)
การทำหตถการวินิจฉัย
ก่อนคลอด
เจาะชิ้นเนื้อรก
เจาะสายสะดือ
เจาะน้ำคร่ำ
การรับประทาน
ยาต้านไวรัส
กินยาสูตร HARRT ตั้งแต่ T1st เชื้อจากมารดาสู่ทารก
1-2 %
กินยาต้านไวรัส < 4 wks ก่อนคลอด กินไม่สม่ำเสมอ
ทารกมีโอกาสติดเชื้อ 9.3%
viral load ของมารดา สำคัญที่สุด
ระดับ CD4 หากต่ำทารกเสี่ยงติดเชื้อเพิ่มขึ้น
น้ำหนักมารดาก่อนการตั้งครรภ์ ภาวะโภชนาการ
การใช้สารเสพติด
ระยะคลอด
(intrapartum factors)
ทารกคลอดก่อนกำหนด เสี่ยง
ติดเชื้อ 4 เท่า
rupture of membrane นาน
มากกว่า 4 ชม. ภาวะ chorioamnionitis
C/S หลีกเลี่ยงการสัมผัสเชื้อขณะทำหัตถการ
ระยะหลังคลอด
(postpartum factors)
(breast feeding) ปัจจัยสำคัญ
ทำให้ติดเชื้อได้
การดูแล
ขณะตั้งครรภ์
ไม่เคยได้รับยามาก่อน
Nucleoside reverse-transcriptase inhibitors(NRTIs) 2 ตัว
รว่มกับ non-nucleoside reverse transcriptase inhibitors(NNRTI)1ตัว
ยาสูตรแรก
TDF + 3TC (or FTC) + EFV
ยาสูตรทางเลือก
AZT+ 3TC+ EFV(or NVP) หรือ TDF + 3TC (or FTC) + NVP
ได้รับยา
ก่อนตั้งครรภ์
ใช้สูตรยาที่ทำให้ Viral load ลดลง (< 50 copies/mL)
ถ้า VL > 1000 copies/mL ทั้งที่กินยาสม่ำเสมอ
นานกว่า 6 เดือน ให้ส่งต่อแพทย์
หากรักษาได้ผลดี ใช้สูตร EVF ได้ และติดตามU/S
ระยะคลอด
กินยาต่อเนื่อง>4wk
ให้ยาสูตรที่ได้ขณะตั้งครรภ์ต่อ เพิ่ม AZT300mg
ทุก 3 ชม. /AZT 600mg ครั้งเดียวด้วย
เตรียมระดับ AZT ในทารกให้พร้อมการ
ป้องกันการติดเชื้อแรกคลอด
C/S ให้กินยาก่อนเริ่มผ่าตัด 4 ชม.
ยกเว้นการให้ AZT ในรายที่ viral load < 50 copies/mL
กินยาไม่ต่อเนื่อง
VL ที GA 36 wks > 50
copies/mL
หากสูตรยามี NVP หรอื EFV อยู่แล้วเมื่อเจ็บครรภ์คลอด
แนะนำให้ AZT 600 mg เพิ่มครั้งเดียว หรือ AZT 300 mg ทุก 3 ชม.
หากสูตรยาไม่มี NVP หรอื EFV เมื่อเจ็บครรภ์คลอด
ให้ AZT 600 mg เพิ่มครั้งเดียวหรือ AZT 300 mg ทุก
3 ชม และ NVP 200 mg 1 dose
วิธีการคลอด
คลอดทางช่องคลอด
หลีกเลี่ยง ARM , การโกนขน และหัตถการที่ทำให้ทารกได้รับบาดเจ็บ
รายที่น้ำเดินเองให้ Oxytocin
C/S
C/S ก่อนการเจ็บครรภ์คลอด และ GA > 38wk
(viral load เมื่อ GA 34-36 wks น้อยกว่า1,000 copies/ml)
ผ่าตัดเร่งด่วน
ก่อนเริ่มผ่าตัด NPO และให้ ABO m6dikpfh;p ampicillin
หรือ Cefazolin
ห้าม
Methergin
ภาวะแทรกซ้อนจาก
ยา antiviral
Zodovudine (AZT)
Anemia
ยากดการทำงานของไขกระดูก มักเกิดหลังได้รับยา 4-6 wk
คลื่นไส้ อาเจียน ผื่นขึ้น ปวดศีรษะ ปวดท้อง มีไข้ นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร
Nevirapine
ผื่นผิวหนัง ไข้ คลื่นไส้ ท้องเสีย ปวดท้อง ปวดศีรษะ
ผลตรวจ LFT ผิดปกติ
Steven Johnson syndrome พบใน 4-6 wk แรกที่ใช้ยา
Lamivudine(3TC)
ประสาทส่วนปลายอักเสบ ชา อ่อนแรง ตับอักเสบ
ตับม้ามโต โลหิตจางแบบ Aplastic anemia
:<3: นางพิชญา สานต๊ะ เลขที่ 49 :
ชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 28 :<3: