Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Type 2 Diabetes - Coggle Diagram
Type 2 Diabetes
-
-
-
การรักษา
-
- เมื่อยาตัวแรกไม่ได้ผล อาจใช้ยาตัวที่ 2 ได้หลายชนิด
-
-
-
-
-
-
- ยาอื่น เช่น α-glucosidase inhibitors, bromocriptine, colesevelam, and pramlintide พิจารณาใช้ตามสถานการณ์
- อินซูลิน ใช้เมื่อระดับน้ำตาลสูงมาก มีอาการรุนแรง เลือดเป็นกรด เนื่องจากสามารถปรับขนาดยาได้เร็วเพื่อให้น้ำตาลกลับมาเป้นปกติโดยใช้เวลาไม่นาน การใช้อินซูลิน แบ่งเป็น basal and prandial insulins
-
การพยาบาล
- การให้ข้อมูลและความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวานอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อใช้ในการคิดและวางแผนการปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเอง
- สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยให้ผู้ป่วยเกิดการเรียนรู้เกี่ยวกับการดูแลตนเองเรื่องโรคเบาหวาน
2.1 สิ่งแวดล้อมในการให้บริการ พยาบาลควรจัดบริการให้ลักษณะที่ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการดูแลตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้ป่วย เคารพในสิทธิความเป็นบุคคลของผู้ป่วยและยอมรับความคิดเห็นของผู้ป่วยซึ่งบางครั้งอาจมีความแตกต่างกับพยาบาล สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ร่วมกัน มีความเป็นกันเอง พยาบาลควรมีท่าทีที่เป็นมิตร
2.2 สิ่งแวดล้อมในด้านสื่อ ช่วยให้ผู้ป่วยเกิดการเรียนรู้ในการดูแลตนเองเรื่องโรคเบาหวานได้ ได้แก่ แผ่นพับ เอกสารเกี่ยวกับโรคเบาหวาน เป็นต้น โดยมีพยาบาลเป็นผู้อำนวยความสะดวกและอธิบายเพิ่มเติมในสิ่งที่ผู้ป่วยสงสัย
- เป็นที่ปรึกษาและให้ความมั่นใจกับผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง พยาบาลควรให้ความสนใจและติดตามการปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยในระยะที่เริ่มปฏิบัติเพื่อช่วยเป็นที่ปรึกษาให้แรงสนับสนุนหรือช่วยปรับแก้กิจกรรมการดูแลตนเองให้มีความเหมาะสมมากขึ้น
- ให้กำลังใจอย่างสม่ำเสมอ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเรื่องอาหาร การออกกำลังกาย การดูแลเท้าและการใช้ยา ผู้ป่วยต้องใช้ทั้งพลังกายและพลังใจที่จะทำให้พฤติกรรมการดูแลตนเองนั้นประสบผลสำเร็จอย่างต่อเนื่อง พยาบาลควรพูดให้กำลังใจ
-
ความหมาย
ภาวะที่ร่างกายไม่สามารถสร้างฮอร์โมนอินซูลินได้เพียงพอ หรือไม่สามารถนำอินซูลินไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปกติมักพบในวัยกลางคนถึงวัยอายุมาก
พยาธิสภาพ
การทำงานของ b-cell ในตับอ่อนมีความบกพร่อง หรือการมีภาวะดื้อต่อ insulin การที่ผู้ป่วยแต่ละรายจะเป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 จะต้องมีระยะของความทนต่อกลูโคสที่ผิดปกติ (impaired glucose tolerance ,IGT) มาก่อน กล่าวคือ เมื่อมีระดับน้ำตาลในเลือดสูง insulin จะถูกหลั่งจาก b-cell ของตับอ่อน แต่หากเนื้อเยื่อเริ่มมีการต่อต้านการออกฤทธิ์ของ insulin ตับอ่อนก็จะพยายามทดแทน โดยการหลั่ง insulin เพิ่มขึ้น ภาวะ ความทนต่อกลูโคสนี้จะยังคงปกติได้เมื่อ b-cell ในตับอ่อนยังสามารถหลั่ง insulin ทดแทนได้ หากตับอ่อนไม่สามารถหลั่ง insulin ได้เพียงพอ ในที่สุดจะส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มสูงขึ้น9 จึงเกิดภาวะ IGT ขึ้น เป็นผลให้เกิดระดับน้ำตาลหลังรับประทานอาหารเพิ่มสูงขึ้น (postprandial hyperglycemia) และอาจกลายเป็นโรคเบาหวานในที่สุด