Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 62 ปี
Dx.โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (NSTEMI)
…
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 62 ปี
Dx.โรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด (NSTEMI)
วันที่รับการรักษาในโรงพยาบาล: 20 เม.ย. 2563 โรคประจำตัว: โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง นาน 4- 5 ปี รักษาโดยการรับประทานยาที่ รพ.บำราศนราดรู แต่ขาดยามานาน 4 เดือน
-
-
-
-
-
การตรวจร่างกายตามระบบ
-
-
Heart: จังหวะการเต้นไม่สม่ำเสมอ เสียงหัวใจ S1,S2 บีบตัวปกติ ไม่มี murmur
-
-
-
-
-
ผลการตรวจห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษ
-
ผล Echo cardiograms: พบผนังด้านหน้าของกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างซ้ายมีการทำงานต่ำกว่าปกติ บีบตัวได้ 20- 30 % และมีการบีบตัวของหัวใจลดลงที่ตำแหน่งผนังด้านหน้าของกล้ามเนื้อหัวใจ anterior wall
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีอาการเจ็บหน้าอก เนื่องจากการกำซาบเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่เพียงพอ
ข้อสนับสนุน :
-
-
1.ประเมินสัญญาณชีพ T,P,R,BP, O2 sat
-
3.ประเมินอาการเจ็บหน้าอก โดยประเมินตำแหน่งของอาการปวดร้าว ระยะเวลาปวดและระดับความปวดโดยใช้ pain scale
-
-
-
-
-
-
-
11.สังเกตอาการเจ็บแน่นหน้าอก อาการเหนื่อยของผู้ป่วยและอาการทั่วไป ตลอดจนติดตามสัญญาณชีพและคลื่นไฟฟ้าหัวใจอย่างใกล้ชิด หลังผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือด
-
เสี่ยงต่อปริมาตรเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง เนื่องจากการบีบตัวของหัวใจบกพร่องจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
-
มีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะช็อค เนื่องจากระดับน้ำตาลในเลือดสูง
-
-
-
-
- จัดท่าให้ผู้ป่วยนอนราบไม่หนุนหมอน
- ตรวจวัดและบันทึกสัญญาณชีพ
- สังเกตและบันทึกอาการเกี่ยวกับระดับความรู้สึกตัวและภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย กระหายน้ำ น้ำหนักลด อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน หอบ ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึมลง หมดสติ
- ดูแลการได้รับยารับประทานลดระดับน้ำตาล ตามแผนการรักษาของแพทย์
- ติดตามผลระดับน้ำตาลในเลือดเพื่อประเมินภาวะน้ำตาลในเลือดอย่างสม่ำเสมอ
ผู้ป่วยพร่องกิจวัตรประจำวัน เนื่องจากมีอาการเจ็บหน้าอก
ข้อสนับสนุน: เจ็บหน้าอกร้าวไปหัวไหล่ทั้งสองข้าง
-
- ประเมินความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันผู้ป่วย
- ดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยในการเคลื่อนไหว และเปลี่ยนอิริยาบถของร่างกายเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความมั่นใจ และกล้าที่จะเคลื่อนไหวร่างกายด้วยตนเองและทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองได้ ให้การช่วยเหลือตามความเหมาะสม เช่น การช่วยพยุงเดินไปห้องน้ำ
- จัด Unit ของผู้ป่วยให้สามารถหยิบของใช้ได้สะดวก
- ดูแลผู้ป่วยให้บรรเทาอาการเจ็บหน้าอก เพื่อจะได้สามารถปฏิบัติภาระกิจวัตรประจำวันได้ดีขึ้น
- ระวังเรื่องอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้น
- การตกเตียงจากการพลิกตะแคงตัวได้ไม่ดีโดยการยกไม้กั้นเตียงขึ้นทั้งสองข้าง และผู้ป่วยยังสามารถที่จะจับไม้กั้นเตียงเพื่อช่วยในการพลิกตะแคงตัวได้ดีขึ้น
- การลื่นหกล้ม ต้องดูแลให้ความช่วยเหลือเมื่อผู้ป่วยจะไปห้องน้ำ ทางเดินต้องไม่ลื่น พื้นแห้ง ไม่มีสิ่งของวางเกะกะ
ผู้ป่วยพร่องความรู้ในการดูแลตนเอง
ข้อสนับสนุน: มีโรคประจำตัวคือ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง นาน 4- 5 ปี รักษาโดยการรับประทานยาที่ รพ.บำราศนราดรู แต่ขาดยามานาน 4 เดือน
-
-
- ให้ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง
1.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับเรื่องอาหาร การเลือกรับประทานอาหารที่ถูกต้องแลเหมาะสมกับโรคควร หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหาร ควรรับประทานอาหารให้ตรงเวลา ครบ 3 มื้อ
-
ผู้ป่วยมีความวิตกกังวล เนื่องจากความเจ็บป่วยของตนเอง
-
-
-
-
3.อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ แผนการรักษา อาการของโรค พยาธิสภาพ ลักษณะการเจ็บหน้าอก สาเหตุของการเจ็บหน้าอกและปฏิบัติตัว
-
-
-
-
-
-
-
-
-