Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 ขอบเขต หน้าที่ ความรับผิดชอบของ ผู้บริหารทางการพยาบาล - Coggle…
บทที่3 ขอบเขต หน้าที่ ความรับผิดชอบของ
ผู้บริหารทางการพยาบาล
ขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของ
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ
เป็นบทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายให้ทำตามตำแหน่งบริหารภายในหน่วยงานหรือองค์กร
เพื่อให้การบริหารงานทั่วไป
การบริหารการพยาบาล
หัวหน้าพยาบาล
ด้านการปฏิบัติการ
วิสัยทัศน์พันธกิจ
เป้าหมายและยุทธศาสตร์การบริการพยาบาล
กำหนดมาตรฐานการบริการพยาบาล
กำหนดแนวทางและหลักเกณฑ์ในการสรรหาคัดเลือกบุคลากรทางการพยาบาล
กำหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรทุกระดับควบคุม ติดตาม และกำกับระบบบริการพยาบาลทุกหน่วยงาน
ติดตามประเมินผลการจัดบริการพยาบาล
จัดหาควบคุมพัสดุ ครุภัณฑ์เครื่องมือทางการเเพทย์
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฎิบัติงานในฐานะผู้บริหารสูงสุดทางการพยาบาลเป็นผู้นำองค์กรพยาบาลมีสายบังคับบัญชาขึ้นตรงต่อผู้อำนวยการโรงพยาบาล
ด้านการวางแผน
วางแผนการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
วางแผนอัตรากำลังทางการพยาบาล
วางแผนการดำ เนินนโยบายกำหนดยุทธศาสตร์ด้านการพยาบาลโดยบูรณาการกับยุทธศาสตร์ของโรงพยาบาล
วางแผนด้านโครงสร้างการจัดบริการพยาบาล
วางแผนร่วมกับสถาบันการศึกษา
ด้านการประสานงาน
ให้ข้อคิดเห็นและเป็นที่ปรึกษาหรือให้คำเเนะนำ
เป็นผู้ประสานการดำ เนินงานบริการพยาบาลทุกรูปแบบ
ประสานงานกับทุกหน่วยงาน
ด้านการบริการ
ร่วมกิจกรรมเยี่ยมตรวจโรงพยาบาล(hospital round)
ส่งเสริมการจัดหน่วยบริการสาธารณสุขเคลื่อนที่ตามเเผนโรงพยาบาล
เป็นที่ปรึกษาทางการพยาบาล
ผู้จัดการรายกรณี
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้ชำ นาญงานพยาบาลเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยหรือเฉพาะโรค
ด้านการปฏิบัติการ
บูรณาการความรู้ความชำ นาญทางคลินิก ผลงานวิจัย
วางระบบการพัฒนาความสามารถของกลุ่มเป้าหมาย
ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ทางการพยาบาลเฉพาะกลุ่มผู้ป่วย
กำหนดฐานข้อมูลและจัดระบบข้อมูลสารสนเทศ
กำหนดระบบและแนวทางปฏิบัติการพยาบาล
นิเทศ ติดตาม กำกับการปฏิบัติการพยาบาล
ด้านการวางแผน
วางแผน จัดระบบ และติดตามกำ กับการดูแล
วางแผนจัดบุคลากรให้พร้อมในการดูแลต่อเนื่อง
วางแผนงาน โครงการการพัฒนาบริการพยาบาลในกลุ่มผู้ป่วยเฉพาะ
ด้านการประสานงาน
ประสานงานกับทีมสุขภาพในการติดตาม
ประสานความร่วมมือระหว่างองค์กรเครือข่ายในชุมชน
ประสานงานและความร่วมมือกับทีมสหสาขาวิชาชีพ
ด้านการบริการ
empowering
mentor,coach
สอนและเป็นพี่เลี้ยงให้แก่นักศึกษาทุกระดับ
ให้คำ ปรึกษา แนะนำ ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยสาขาต่างๆ
พัฒนาผลงานวิจัย ผลงานวิชาการ
การนำบทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพสู่การปฏิบัติ
กำหนดบทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพ
ทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพตามการปฏิบัติงานเ
บทบาทหน้าที่ของหัวหน้าพยาบาลผู้ช่วยหัวหน้าพยาบาล
หัวหน้ากลุ่มงาน
หัวหน้างาน
หัวหน้าหอผู้ป่วย
ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงพยาบาลผู้จัดการรายกรณี
บทบาทหน้าที่ของพยาบาลวิชาชีพตามโครงสร้างหน่วยงานในราชการบริหารส่วนภูมิภาค
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
โรงพยาบาลศูนย์โรงพยาบาลทั่วไป
โรงพยาบาลชุมชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับชำนาญการ
ระดับชำนาญการพิเศษ
ระดับเชี่ยวชาญ
ระดับปฏิบัติการ
ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล
ด้านการปฏิบัติการ
จัดการกับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของผู้ป่วย
กำหนดมาตรฐานบริการหรือแนวทางปฏิบัติการพยาบาลสาขา
บูรณาการความรู้ขั้นสูง ทฤษฎีทางการพยาบาลและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ทางการพยาบาลในสาขาที่เชี่ยวชาญ
ดำเนินการวิจัยพัฒนากระบวนการบริการพยาบาลใหม่ๆ
ด้านการวางแผน
วางแผนงาน โครงการการบริการพยาบาลขั้นสูง
วางแผนจัดระบบและติดตามกำกับการดูแลผู้ป่วย
วางแผนบริหารจัดการวัสดุ ครุภัณฑ์
ด้านการประสานงาน
ประสานงานกับทีมสุขภาพในการติดตาม
ประเมินระบบการดูแลผู้ป่วยสาขาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง
ประสานความร่วมมือกับทีมสหสาขาวิชาชีพ
ด้านการบริการ
mentor
coach
empowering
best practice
สอนและเป็นพี่เลี้ยงให้แก่นักศึกษาทุกระดับ
innovation
หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้างาน
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้บริหารทางการพยาบาลระดับกลางที่ได้รับมอบหมาย
อายุรกรรม
ปรึกษาและตัดสินใจแก้ไขปัญหาระบบบริการพยาบาล
ศัลยกรรม
การปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยและบุคลากรทางการพยาบาล
ด้านการปฏิบัติการ
การพยาบาลที่รับผิดชอบให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายขององค์กรพยาบาล
กำหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ
สำรวจวิเคราะห์หาปริมาณความต้องการกำลังคน
ควบคุม ติดตาม และกำกับระบบบริการพยาบาล
กำหนดมาตรฐานการบริการพยาบาล
ด้านการวางแผน
วางแผนปฏิบัติการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
วางแผนอัตรากำลังทางการพยาบาลให้เพียงพอ
วางแผนการนิเทศงานการพยาบาลทุกระดับ
ด้านการประสานงาน
ประสานงานภายในหน่วยงานที่รับผิดชอบ
เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการรักษาพยาบาล
ด้านการบริการ
ให้คำปรึกษาและถ่ายทอดองค์ความรู้ทางการพยาบาล
นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือ
เป็นที่ปรึกษาทางการพยาบาล
ผู้ช่วยหัวหน้าพยาบาล
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก
ปฏิบัติงานในฐานะผู้บริหารทางการพยาบาลที่ได้รับมอบหมาย
ด้านการปฏิบัติการ
ควบคุมติดตามและกำกับระบบบริการพยาบาล
ติดตามประเมินผลการจัดบริการพยาบาล
กำหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรทุกระดับ
จัดหาควบคุมพัสดุครุภัณฑ์
สำรวจวิเคราะห์หาปริมาณความต้องการกำลังคน
ดำเนินการเกี่ยวกับการบริหารบุคคล
กำหนดมาตรฐานการบริการพยาบาล
บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้บุคลากร
ปฏิบัติงานวิสัยทัศน์พันธกิจพัฒนาบริการพยาบาลในหน่วยงานที่รับผิดชอบให้สอดคล้องกับขององค์กรพยาบาล
ด้านการวางแผน
างแผนอัตรากำลังทางการพยาบาลให้เพียงพอ
วางแผนการนิเทศงานการพยาบาลทุกระดับ
วางแผนปฏิบัติการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
วางแผนร่วมกับสถาบันการศึกษา
ด้านการประสานงาน
ประสานงานภายในหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ให้ข้อคิดเห็นและเป็นที่ปรึกษา
ด้านการบริการ
นิเทศ ติดตาม ช่วยเหลือและประเมินผลการพยาบาล
ร่วมในการเยี่ยมตรวจงานทางการพยาบาลกับหัวหน้าพยาบาล (grand round)
เป็นที่ปรึกษาทางการพยาบาล
hospital round
ส่งเสริมให้หน่วยงานที่รับผิดชอบร่วมดำเนินการจัดหน่วยบริการสาธารณสุขเคลื่อนที่
มาตรฐานองค์กรการพยาบาล (Nursing Standards)
๑.มาตรฐานเชิงโครงสร้าง
หมวดที่ ๑
มาตรฐานการบริหารองค์กรพยาบาล (Nursing Organization)
การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล
ระบบการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
บริหารองค์กรพยาบาล
มาตรฐานที่ ๑ องค์กรและการบริหารองค์กร ประกอบด้วยข้อกำหนด ๘ ข้อ ดังนี้
ข้อกำหนดที่๑.๒มีองค์กรพยาบาลเพียงองค์กรเดียวในสถานพยาบาล
ข้อกำหนดที่ ๑.๓ มีผู้บริหารสูงสุดขององค์กรเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ข้อกำหนดที่ ๑.๑ มีองค์กรพยาบาลในโครงสร้างการบริหารของสถานพยาบาล
ข้อกำหนดที่ ๑.๔ มีการกำหนดบทบาท อำนาจหน้าที่ของผู้บริหารการพยาบาลทุกระดับชัดเจน
ข้อกำหนดที่ ๑.๕ มีปรัชญา พันธกิจ วิสัยทัศน์ นโยบายและแผนงาน
ข้อกำหนดที่ ๑.๖ มีงบประมาณเพียงพอ
ข้อกำหนดที่ ๑.๗มีการกำหนดระบบและกลไกการดำเนินงานและการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ข้อกำหนดที่ ๑.๘ มีระบบการส่งเสริมเอกสิทธิ์ในการปฏิบัติการพยาบาล
มาตรฐานที่ ๒ ทรัพยากรและสิ่งสนับสนุน ประกอบด้วยข้อกำหนด ๑๐ ข้อ ดังนี้
ข้อกำหนดที่ ๒.๒ มีการกำหนดคุณสมบัติ บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบของพยาบาล
ข้อกำหนดที่ ๒.๓ มีระบบและกลไกการคัดสรรและพัฒนาบุคลากรที่มีประสิทธิภาพ
ข้อกำหนดที่ ๒.๑ มีพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลที่เพียงพอทั้งจำนวน
ข้อกำหนดที่ ๒.๔ มีการบริหารจัดการอัตรากำลังพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลต่อผู้รับบริการ
ข้อกำหนดที่ ๒.๕ มีการกำกับติดตามและประเมินผลการปฏิบัติ
ข้อกำหนดที่ ๒.๖ มีแผนการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร
ข้อกำหนดที่ ๒.๗ มีบรรยากาศและสิ่งแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่เหมาะสม
ข้อกำหนดที่๒.๘ มีสิ่งสนับสนุนการปฏิบัติงานของพยาบาล
ข้อกำหนดที่ ๒.๙ มีที่พักอาศัยสำหรับพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลที่เหมาะสมและปลอดภัย
ข้อกำหนดที่๒.๑๐มีระบบและกลไกในการธำรงรักษาบุคลากรได้แก่แรงจูงใจความก้าวหน้าในงาน
มาตรฐานที่ ๓ ระบบบริการการพยาบาล ประกอบด้วยข้อกำหนด ๖ ข้อ ดังนี้
ข้อกำหนดที่ ๓.๓ มีการมอบหมายงานพยาบาลและบุคลากรทางการพยาบาลเป็นลายลักษณ์อักษร
ข้อกำหนดที่ ๓.๔ มีระบบบริการการพยาบาลที่เน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
ข้อกำหนดที่ ๓.๒ มีพยาบาลวิชาชีพเป็นหัวหน้าทีมวางแผนให้บริการการพยาบาลที่อยู่ในความดูแล
ข้อกำหนดที่๓.๕มีระบบและกลไกกำกับดูแลให้พยาบาลปฏิบัติตามมาตรฐานการพยาบาลจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
ข้อกำหนดที่ ๓.๑ จัดระบบบริการการพยาบาลที่คำนึงถึงคุณภาพ
ข้อกำหนดที่๓.๖ มีระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศในการบริหาร การบริการและการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการพัฒนาคุณภาพการพยาบาล ประกอบด้วยข้อกำหนด ๓ ข้อ ดังนี้
ข้อกำหนดที่ ๔.๑ มีนโยบายและแผนการจัดการคุณภาพการพยาบาลและการผดุงครรภ์กำหนดไว้ชัดเจนเป็นลายลักษณ์อักษร
ข้อกำหนดที่ ๔.๒ มีระบบบริหารคุณภาพและความปลอดภัยของบริการการพยาบาล
ข้อกำหนดที่ ๔.๓ มีระบบกำกับ ติดตาม ประเมินผลลัพธ์การพยาบาลและนำผลไปพัฒนาคุณภาพการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
๒.มาตรฐานเชิงกระบวนการ
หมวดที่ ๒ การปฏิบัติการพยาบาล (Nursing Practices)
แนวทางการปฏิบัติการพยาบาลที่มีเป้าหมายหลักเพื่อให้ผู้รับบริการมีภาวะสุขภาพที่ดี
พยาบาลต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลประกอบด้วยมาตรฐานย่อยจำ ๕ มาตรฐานมีข้อกำหนดจำนวน ๒๑ ข้อกำหนด ดังนี้
มาตรฐานที่ ๕ การบันทึกและรายงานการพยาบาล ประกอบด้วยข้อกำหนด ๔ ข้อ ดังนี้
ข้อกำหนดที่๕.๒ต้องบันทึกข้อมูลสำคัญที่สอดคล้องกับปัญหา
ข้อกำหนดที่ ๕.๓ บันทึกและรายงานการพยาบาล สามารถใช้สื่อสารในทีมการพยาบาล
ข้อกำหนดที่๕.๑บันทึกการพยาบาล
ความต้องการของผู้รับบริการ
กิจกรรมการพยาบาล
การประเมินผลภายหลังปฏิบัติการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพกำหนดปัญหา
ข้อกำหนดที่ ๕.๔ มีการติดตามประเมินและพัฒนาคุณภาพการบันทึกและรายงานการพยาบาลอย่างต่อเนื่อง
มาตรฐานเชิงผลลัพธ์หมวดที่ ๓ ผลลัพธ์การพยาบาล (Nursing Outcome)
เป็นแนวทางการกำหนดผลลัพธ์และการบริหารจัดการผลลัพธ์การพยาบาลโดยองค์กรพยาบาลต้องพิจารณากำหนด
ที่สะท้อนผลลัพธ์การบริหารองค์กรพยาบาล
ตัวชี้วัดสำคัญ (Key performance indicators)
มาตรฐานย่อยจำนวน ๒ มาตรฐาน มีข้อกำหนดจำนวน๗ ข้อกำหนด ดังนี้
มาตรฐานที่๑ การกำหนดตัวชี้วัดสำคัญ(Nursing Sensitivity Outcome indicators)ประกอบด้วยข้อกำหนด ๔ ข้อ ดังนี้
ข้อกำหนดที่ ๑.๒ ด้านผู้ให้บริการ
ความปลอดภัยในการทำงาน
ข้อกำหนดที่๑.๓ ด้านชุมชน
ความรู้ของผู้รับบริการเกี่ยวกับภาวะสุขภาพความสามารถในการดูแลสุขภาพของบุคคล
ข้อกำหนดที่ ๑.๑ ด้านผู้รับบริการ
การได้รับการบรรเทาอาการรบกวน
ข้อกำหนดที่ ๑.๔ ด้านองค์กร/การบริหารงาน
การบรรลุผลลัพธ์ตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ
มาตรฐานที่ ๒ การบริหารจัดการผลลัพธ์การพยาบาล ประกอบด้วยข้อกำหนด ๓ ข้อ ดังนี้
ข้อกำหนดที่ ๒.๑ มีระบบการคัดเลือกตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับบริบทขององค์กร เหมาะสม
ข้อกำหนดที่ ๒.๒ มีการวิเคราะห์ ติดตามผลลัพธ์การพยาบาลตามหลักวิชาการมีการสังเคราะห์
ข้อกำหนดที่ ๒.๓ มีการนำผลลัพธ์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา การวางแผนและการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
นายธเนศ สวาสนา 604N46132