Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทพยาบาลในการประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์ - Coggle Diagram
บทบาทพยาบาลในการประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์
การประเมินโดยวิธีทางคลินิก
การตรวจครรภ์
ประเมินการมีชีวิต
ขนาด ความผิดปกติบางอย่างของทารกในครรภ์
การทำงานของระบบประสาทสมองส่วนกลางควบคุมการทำงานกล้ามเนื้อ
. การนับการดิ้นของทารกในครรภ์
การดินบ่งชี้การมีชีวิตในครรภ์ วิธีการที่ดี ง่าย ปลอดภัย ประหยัด
ทารก เริ่มเคลื่อนไหว เมื่อ GA 7 สัปดาห์
GA 29 - 38 wks ทารกดิ้นมากที่สุด
ช่วง GA 18 wks ดิ้นน้อยหลังจากนั้นดิ้นมากขึ้น ทารกมักดิ้นช่วงเวลาเย็น
การประเมินโดยวิธีชีวเคมี
1.การตรวจระดับ estriol ในปัสสาวะ (urine estriol)
ระดับ estriol ปกติสูงตามอายุครรภ์ เมื่อ GA 32 wks
วิธีการตรวจ
เริ่มตรวจ GA 28 wks จนอายุครรภ์ครบกำหนด ตรวจ 3 ครั้ง/wks.
ปัสสาวะทิ้งก่อน 1 ครั้ง จากนั้นเก็บ urine จนครบ 24 ชม
หากเก็บไม่ครบผลตรวจอาจผิดพลาด
2.การตรวจเลือดในสตรีตั้งครรภ์ (maternal blood study)
การตรวจหาระดับฮอร์โมน
(hPL)
ค่า hPL ใกล้กำหนดคลอด 5.4 – 7.0 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร
ค่า hPL สร้างจากเซลล์ syncytitrophoblast ของรก
การตรวจหา alpha fetoprotein
ระยะเวลาเหมาะสมในการตรวจ คือ GA 16-18 wks
การตรวจระดับ estriol ในเลือด
การตรวจหาระดับ unconjugated estriol (uE3) ใน plasma จะสัมพันธ์กับ estriol ในปัสสาวะ
การตรวจ estriol ในเลือดได้ผลแน่นอนกว่าการตรวจในปัสสาวะ
การตรวจหา akalne phosphatase และ oxytocinase
ระดับของ alkaline phosphatase ลดลง ในรายที่ทารกขาดอาหารหรือขาดออกซิเจนเรื้อรัง
การตรวจหาฮอร์โมน [hcG]
สร้างจากรกตรวจพบในเลือดของสตรีตั้งครรภ์ตั้งแต่วันที่ 8 หลัง fertilization
การตรวจตัวอย่างเลือดจากทารก (Fetal blood sampling)
การเจาะเลือดจากสายสะดือทารกผ่านทางหน้าท้อง (PUBS)
การเจาะเลือดจากหนังศีรษะทารกในครรภ์ (Fetal scalp blood sampling)
การตรวจวิเคราะห์เนื้อรก (Chrorionic villus samping [CVS])
ตรวจหา chromosome
วิเคราะห์ DNA และ enzyme หาความผิดปกติทางพันธุกรรมทารกในครรภ์
ตรวจเมื่อ GA 8 – 11 wks
ใช้ Catheter เจาะและดูดเนื้อรก
การเจาะถุงน้ำคร่ำ (amniocentesis)
การเจาะทำได้ 2 ช่วง คือ GA 9 -14 wks. และ GA 16 - 18 wks. นิยม GA 16-18 wks. (GA 9 - 14 wks. อัตราแท้งมากกว่า)
6.การตรวจวิเคราะห์น้ำคร่ำ (Amniotic fluid analysis)
เพื่อประเมินอายุครรภ์, fetal maturity
ภาวการณ์มีชีวิตของทารก
ความผิดปกติทางพันธุกรรมและพยาธิสภาพบางอย่างโดยการทำ amniocentesis
การประเมินโดยวิธีทางชีวฟิสิกส์
Ultrasonography
ประเมินอายุครรภ์และการเจริญเติบโตของทารก
ประเมินภาวะเสี่ยงและวินิจฉัยความผิดปกติของทารก
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์เข้าใจวัตถุประสงค์และวิธีการตรวจ
ให้สตรีตั้งครรภ์เซ็นต์ชื่อยินยอมการตรวจ
Radiography
วินิจฉัยการตั้งครรภ์ได้โดยจะตรวจพบโครงกระดูกของทารกได้ตั้งแต่อายุครรภ์ 16 สัปดาห์
การถ่ายภาพรังสีอาจทำให้เกิดอันตรายแก่ทารกได้จึงไม่นิยมทำปัจจุบัน
Amniography
การฉีดสารทึบแสง (radiopaque) เข้าไปในถุงน้ำคร่ำแล้วถ่ายภาพรังสี
ดูปริมาณน้ำคร่ำที่ผิดปกติ
ดูตำแหน่งของรกและตรวจความผิดปกติของทารกได้
Amnioscopy
การส่องดูภายในถุงน้ำคร่ำ มองผ่านเยื่อหุ้มทารกกรณีปากมดลูกเปิดกว้างพอ
สามารถตรวจดูลักษณะของน้ำคร่ำว่ามีขี้เทาปนหรือไม่
ใช้ส่องดูส่วนนำของทารกในรายที่ถุงน้ำทูนหัวแตกแล้วและเจาะเลือดทารกเพื่อตรวจ blood gas
Fetoscope
การส่องกล้องดูทารกในครรภ์โดยใช้เครื่องมือ endoscope ชนิดพิเศษที่เรียกว่า laparoamnioscope
ตรวจสอบความผิดปกติของทารกในรายที่มีประวัติภาวะเสี่ยง
ใช้เก็บตัวอย่างเลือดทารกเพื่อตรวจวินิจฉัยภาวะ fetal hemoglobinopathies
การประเมินโดยวิธีทางอิเล็กโทรนิค
Non-stress test (NST)
บันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกขณะที่สตรี ตั้งครรภ์อยู่ในระยะพักและไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก
Contraction stress test (CST)
เป็นการประเมินระดับของ Utero-placenta reserve โดยวัดความสามารถ ของทารกในการปรับตัวต่อภาวะขาดออกซิเจน
การบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกมีได้ 2 วิธี คือ
1.การบันทึกจากภายนอก (external method หรือexternal monitoring)
บันทึกการหดรัดตัวของมดลูกใช้ Transducer/tocotransducer วางบริเวณยอด มดลูกมีเข็มขัดรัด รับแรงกดจากการหดรัดตัวของมดลูกเปลี่ยนเป็นสัญญาณไฟฟ้าบันทึก ลงบนกระดาษ
บันทึกการเต้นของหัวใจทารก ใช้ Phonotransducer รับสัญญาณเสียงการเต้นของ หัวใจทารก
2.การบันทึกจากภายใน (internal method หรือ internal monitoring)
บันทึกการเต้นของหัวใจทารกใช้ fetal scalp electrode จับที่ศีรษะทารกเพื่อรับ สัญญาณคลื่นไฟฟ้าของหัวใจทารกโดยตรง ก่อนใส่ electrode แพทย์จะต้องเจาะถุง น้ำทูนหัวก่อน
บันทึกการหดรัดตัวของมดลูกโดยใช้ uterine catheter สอดเข้าไปในโพรงมดลูกหรือ ใช้ balloon วางอยู่ระหว่างเยื่อหุ้มทารกกับผนังมดลูก
การประเมินโดย Biophysical profile (BPP)
การประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์จากการขาดออกซิเจน
ใช้ parameters จากการ U/S 4 อย่าง ร่วมกับการตรวจ NST รวมเป็น 5 parameters
1.Fetal breathing movement (FBM
2.Fetal movement (FM)
3.Fetal tone (FT)
4.Amniotic fluid volume (AFV)
5.Non stress test (NST)