Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที6 : การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด (ต่อ) - Coggle Diagram
บทที6 : การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด (ต่อ)
Sheehan's syndrome
อาการ
อ่อนเพลีย ทํางานเชืองช้า คิดช้า ผิวหนังเหียวหยาบแห้ง ความดันเลือดตา ขนรักแร้และขนบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ร่ง ประจําเดือนไม่มา เปนหมัน ขีหนาว หน้าตาแก่เกินวัย วิงเวียน บางคนมีอาการเบื่ออาหาร ซูบผอม
การรักษา
ตรวจเลือด เอกซเลย์หรอตรวจพิเศษ
ในรายที่มีบุตร อาจต้องฉีดฮอร์โมนกระตุ้นเอสโตรเจนให้รังไข่ทํางาน
กินยาตลอดชีวิต สําหรับผู้ใหญ่ ขนาดทีให้ 20mg/d หรือ 15mg/d ทุกเย็น
หมายถึง
เปนภาวะที่พบในสตรีหลังคลอดทีมีประวัติตกเลือดอย่างรุนแรง ทําให้ต่อมใต้สมองขาดเลือด เซลล์บางส่วนตายไป เกิดภาวะต่อมใต้สมองทํางานได้น้อย (hypotuitarism
ส่งผลให้ต่อมธัยรอยด์ ต่อมหมวกไตและรังไข่ซึงอยู๋ภายใต้การควบคุมของต่อมนีไม่ทํางานไปด้ว ย ทําให้มีอาการของต่อมไทรอยด์ทํางานน้อย ร่วมกับอาการขาดประจําเดือนและเปนหมัน
ภาวะเต้านมอักเสบและติดเชือ (Breast inflammation and infection)
หมายถึง
เต้านมคัดตึงมักพบได้ใน 3-4 วันหลังคลอด โดยมีอาการปวด บวมบริเวณเต้านม ซึงในขณะให้นมบุตร ท่อนานมจะมีการเปด เลือดที่มาเลียงเต้านมมีปริมาณสูง เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
อาการ
อาการมักเกิดใน 3-4 สัปดาห์หลังคลอด
บางรายมีหนอง
มีอาการหนาวสั่น
ตรวจพบเต้านมแข็ง แดง อักเสบ มีอาการปวดมาก
หัวใจเต้นเร็ว
มีไข้สูง 38.3-40 องศาเซลเซียส
สาเหตุ
ท่อนานมอุดตัน
ลูกดูดนมไม่ถูกวิธี ดูดไม่เกลียงเต้า
หัวนมแตก ถลอกหรือมีรอยแตก
การรักษา
ในกรณีได้รับการผ่าเอาฝีออก ต้องงดการให้นมบุตรและอาจใช้วิธีปมนานมออกจนกว่า แผลจะหาย และสามารถให้นมบุตรได้ตามปกติเมื่อ ไม่มีผลข้างเคียง
ดูแลให้มารดางดการให้นมบุตรเนื่องจากอาการติดเชื้อ
ดูแลให้ประคบด้วยผ้าชุบนาอุ่นจัดอาบด้วยนาอุ่นหรือประคบด้วยความเย็นเพื่อให้เกิดลดความไม่สุขสบาย
ควบคุมการติดเชื้อสําหรับมารดาและทารกเพื่อป้องกันการแผ่กระจายเชื้อและบันทึกประวัติของมารดาหลังคลอด รวมทั้งประวัติการให้ยา โดยเฉพาะการแพ้ยาในกลุ่ม penicillin
ดูแลให้มารดาดื่มน้ำมากๆและพักผ่อนในกรณีที่มีไข้
อธิบายให้มารดารับทราบถึงภาวะเต้านมอักเสบ และแนวทางในการ รักษา เพื่อปองกันภาวะติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับยาAntibioticตามแผนการรักษา
ดูแลให้มารดาสวมเสื้อชันใน ที่เหมาะกับขนาดของเต้านมดูแลให้มารดาดูแลผิวหนังบริเวณเต้านม
อธิบายมารดาและช่วยเหลือในการจัดท่าที่มารดาถนัด ในการให้นมบุตรให้ถูกต้อง เพื่อป้องกันไม่ให้หัวนมแตกให้นานมเกลี่ยงเต้า และป้องกันการอุดตัน ของท่อน้ำนม
ประเมินและบันทึกอาการไม่สุขสบายให้analgesic ตามความจําเป็น
การป้องกัน
แนะนํามารดาให้เอาหัวนมออกจากปากให้ถูกวิธี
แนะนําและดูแลให้มารดาทําความสะอาดหัวนมอย่างถูกวิธี
แนะนํามารดาให้ทารกดูดนมให้วิธี โดยให้บุตรอมหัวนมให้มิดถึงลานนม
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
หมายถึง
ในระยะหลังคลอด สตรีหลังคลอดจะมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางร่างกาย จิตใจ ตลอดจนบทบาทหน้าที่ในการเลี่ยงดูทารกที่เกิดขึ้นมา หากสตรีหลังคลอดไม่สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ หรือมีการปรับตัวทีไม่เหมาะสมต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้น อาจส่งผลให้เกิดปญหาทางด้านการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ในระยะหลังคลอดขึ้นได้ซึ่งส่งผลทําให้มีอารมณ์แปรปรวน (Mood disorders) เกิดขึ้นได้
ภาวะเศร้าโศก (Grief)
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อการสูญเสีย
ระยะที่ 3 ระยะต่อรอง (Bargaining)
ระยะที่ 4 ระยะซึมเศร้า (Depression)
ระยะที่ 2 ระยะโกรธ (Anger)
ระยะที่ 5 ระยะยอมรับ (Acceptance)
ระยะที่ 1 ระยะปฏิเสธและแยกตัว (Denial and Isolation)
ปัจจัย
การคลอดบุตรตายคลอด
ความคาดหวังของมารดาและครอบครัว
หมายถึง
เป็นภาวะตอบสนองภายหลังการสูญเสียภาวะเศร้าโศกมีหลายอารมณ์เช่นเศร้าวิตกกังวลโกรธรู้สึกผิดสูญเสีย (Loss) ภาวการณ์ขาดหรือแยกจากบุคคลหรือขาดบางสิ่งที่มีค่าอันยิ่งใหญ่
การสูญเสียความเป็นตัวของตัวเองในบางด้าน
การสูญเสียวัตถุสิงของที่มีความสําคัญ
การสูญเสียบุคคลที่เป็นทีรักและมีค่าของตน
กิจกรรมการพยาบาล
แนะนําให้สามีและญาติเข้าเยียมอย่างใกล้ชิด
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
เปิดโอกาสให้มารดาหลังคลอดซักถามพูดคุยระบายความรู้สึก
ดูแลให้พักผ่อน
ให้คําแนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตนหลังคลอด
แบ่งออกเปน
ภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอด (Postpartum blues)
หมายถึง
เป็นภาวะที่พบได้บ่อยที่สุดคือประมาณ 30-75% ของมารดาหลังคลอดอาการของภาวะนี้ไม่รุนแรงและหายได้เองเนื่องจาก หลังภายหลังการคลอดร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงระดับของฮอร์โมนเอ สโตรเจนและโปรเจสเตอโรลที่ลดลงทําให้เกิดความแปรปรวนทางอารมณ์ขึ้นได้
อาการ
มีความวิตกกังวลไปหมดทุกเรื่อง (Generalized anxiety)
หงุดหงิดขี้รําคาญ (Irritability)
ร้องให้ง่าย (Tearfulness)
มีอารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย (Mood lability)
กินไม่ได้นอนไม่หลับหรือกินมากนอนมากผิดปกติ (Appetite and sleep disturbance)
อาการมักเริ่มเกิดในช่วงหลังคลอดวันที่ 2-3 และมีอาการมากที่สุดประมาณวันที่ 4-5 และมักหายภายในวันที่ 10 ในรายที่มีอาการอยู่นานจนเกิน 2 สัปดาห์หลังคลอดแล้วยังไม่หายควรได้รับการตรวจเพราะอาจเป็นโรคซึม เศร้าซึ่งมีอาการรุนแรงกว่าและต้องการการรักษาที่จําเพาะเจาะจง
ปัจจัย
การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์มีความกลัวและเครียดจากการคลอด
การลดระดับฮอร์โมนในร่างกาย
อ่อนเพลียจากการอดนอน
ความไม่สุขสบายจากภาวะหลังคลอด
ความวิตกกังวลในการเลี้ยงบุตร
ความวิตกกังวลกลัวว่าสามีจะลดความสนใจลง
มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด
การรักษา
อาการมักไม่ค่อยรุนแรงและมักหายได้เองการรักษาก็เป็นเพียงการให้กําลังใจการให้ความมันใจ แต่ถ้าอาการไม่หายภายใน 2 สัปดาห์หลัง คลอดให้กลับมาพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยดูว่าเปนโรคอื่นหรือไม่
โรคจิตหลังคลอด (Postpartum psychosis)
อาการ
ประสาทหลอน (hallucination)
มีอาการสับสน (confusion)
มีความคิดและความหลงเชื่อผิดๆ (delusion)
อารมณ์ซึมเศร้าหรืออารมณ์ที่ผิดปกติ
นอนไม่หลับ
อารมณ์จะเปลี่ยนแปลงเร็วมีพฤติกรรมวุ่นวาย (disorganized behaviour)
่
หงุดหงิดขีรําคาญ (irritability)
ผุดลุกผุดนัง (restlessness)
หมายถึง
โรคจิตหลังคลอดเป็นโรคที่พบได้ประมาณ 0. 1-0. 2% ของมารดาหลังคลอดแต่อาการมักรุนแรงโดยมักเริมเกิดอาการใน 4872 ชัวโมงหลังคลอดมีน้อยรายมากที่ไปเริ่มเกิดอาการหลัง 2 สัปดาห์แรกไปแล้ว
การรักษา
จําเปนจะต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลและจัดเป็นภาวะฉุกเฉินอย่า งหนึ่งยาที่ใช้คือยาแก้โรคจิต (Antipsychotic drugs, เช่น Haloperidot 4-20mg / day) บางครังอาจให้ยาควบคุมอารมณ์เช่นลิเทียม (Lithium carbonate) หรือคาร์บามาซีพีน (Carbamazepine) ร่วมด้วยการใช้เครื่องรักษาด้วยไฟฟ้า (ElectroConvulsive therapy, ECT) ในกรณีที่ให้ยาลิเทียมแก่ผู้ป่วยควรงดปวยควรงดการให้นมบุตรเพราะปริมาณลิเทียมที่ถูกขับออกมาทางนานมมีความเข้มข้นค่อนข้างสูงไม่ปลอด ภัยกับทารกแรกเกิด
โรคซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)
หมายถึง
โรคซึมเศร้าหลังคลอดพบได้ค่อนข้างบ่อยคือประมาณ 10-15% ของมารดาหลังคลอด โดยส่วนใหญ่จะเริ่มมีอาการในช่วงเดือนแรกหลังคลอดแต่มีในบางรายที่เริ่มเป็นตั้งแต่ยังไม่คลอด ลักษณะสําคัญที่ต่างจากภาวะอารมณ์เศร้าหลังคลอดคืออาการรุนแรงจนรบกวนการดําเนินชีวิต ความเป็นอยู่และการเลี้ยงดูทารกอาการเป็นอยู่นานเกิน 2 สัปดาห์และ / หรือมีความคิดอยากฆ่าตัวตาย
อาการ
เบื่อหน่ายไปหมด (Anhedonia)
หมดเรี้ยวแรง (Low energy)
รําพึงว่าตนทําอะไรผิดหรือทําบาปกรรมไว้ (Guilty rumination)
มีอารมณ์ซึมเศร้า (Depressed mood)
มีความวิตกกังวล (Anxiety)
มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย (Suicide)
อาการยาคิดยาทํา (Obsessionality)
การรักษา
ทั้วๆไปโดยใช้ยาแก้ซึมเศร้าในขนาดที่เพียงพอเช่นแพทย์ทําการรักษาเหมือนโรคซึมเศร้ fluoxetine 20-40 mg / day, amitriptyline 50-250 mg / day และให้ต่อเนื่องไปนานประมาณ 6 เดือนในระหว่างให้ยาผู้ป่วยสามารถให้นมบุตรเนืองจากมีการศึกษาแล้วว่าไม่มีอันตรายร้ายแรงกับทารกแรกเกิด
การติดเชือหลังคลอด (postpartum infection / pureperal infectio)
แบ่งออกเปน
การติดเชื้อทีเต้านม
การติดเชือระบบอวัยวะสืบพันธ์ุและแผลผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
ฝีทีช่องเชิงกราน (pelvic abscess)
การติดเชื้อของปีกมดลูก (adnexal infection)
เยื่อบุช่องท้องอักเสบ (peritonitis)
การติดเชื้อ septic pelvic thrombophlebitis
ฝีบริเวณปกมดลูก (parametrial phlegmon)
toxic shock syndrome
การวินิจฉัย
หาสาเหตุด้วยการซักประวัติ
ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
ตรวจร่างกายอย่างละเอียด
อุณหภูมิร่างกายสูงกว่า 38-40 องศาเซลเซียส
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ
อาการ
ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะแสบขัด
มีไข้หลังคลอด หนาวสัน
อาจจะมีอาการคลืนไส้ อาเจียน
หมายถึง
การติดเชื้อแบคทีเรียของอวัยวะสืบพันธ์ุสตรีภายหลังคลอด
ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยทางสูติศาสตร์
prolonged rupture of membrane
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การล้วงรก รือเศษรก
ปัจจัยทั่วไป
การไม่ได้ฝากครรภ์
การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างตังครรภ์
ภาวะทุพโภชนาการ
มีการอักเสบของมดลูกหรือปากมดลูกมาก่อน
ภาวะซีด
ประวัติโรคเบาหวาน
การป้องกัน
ล้างมืออย่างถูกวิธีก่อน-หลังการให้พยาบาลแก่ผู้ป่วย
ดูแล flushing ให้
ใช้เทคนิค Aseptic technique เมื่อต้องทํา การตรวจภายในในระยะรอคลอด
แนะนําให้ผู้ป่วยทําความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์อย่างถูกวิธี แยกผู้ป่วยในกรณีที่มีการติดเชื้อ
ยึดหลัก standard precautions
หลีกเลี่ยงการตรวจภายในโดยไม่จําเป็น
การพยาบาล
Force oral fluid
ดูแลประคบด้วยความร้อนหรือเย็นเพือบรรเทาปวด
แนะนําให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง แคลอรี่สูง ธาตุเหล็กสูงและอาหารที่มีวิตามินซีสูงเพื่อส่งเสริมการหายของบาดแผล
Record Intake / Output
กระตุ้นให้ถ่ายปสสาวะบ่อยๆ เพือให้กระเพาะปัสสาวะว่าง ป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ประเมิน capillary refit , Skin turgor.
ดูแลให้เปลี่ยนผ้าอนามัยบ่อยๆ โดยถอดจากด้านหน้าไปหลังโดยเปลี่ยนทุก 3-4 ชั่วโมง
อธิบายแนวทางการรักษาของแพทย์ให้มารดาหลังคลอดและครอบค รัวรับทราบดูแลพูดคุยให้กําลังใจ
ดูแลให้ทําความสะอาดร่างกาย เพื่อลดการหมักหมมของเชื้อโรค
แยกมารดาหลังคลอดในกรณีที่มีการติดเชื้ออย่างรุนแรง แต่สามารถให้อยู่ร่วมกันกับทารกได้
ดูแลให้ Bed rest
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะยาแก้ปวดยาทําความสะอาดเฉพาะที่หรือยาแก้ค ลืนไส้อาเจียนตามแผนการรักษา
Record V / S q 4 hr.
ในกรณีที่มารดาหลังคลอดได้รับยาAntibioticsสามารถให้นมบุตรได้ ตามปกติยกเว้นได้รับยาบางชนิดที่เปนอันตราย เช่น Metronidazole (flagyl) , Acyclovir (Zovirax)
ดูแลเตรียมในการทําหัตถการ เช่น I&C ในกรณีทีมีรกค้างและ I&D ในกรณีเปน Abscess parametritis
ในกรณีที่ไม่สามารถให้นมบุตรได้ต้องแนะนําให้นวดและบีบนานมออ กเพื่อป้องกันไม่ให้เต้านมคัดตึงและสามารถกลับมาให้นมบุตรได้
อาการ
มีไข้สูง อุณหภูมิสูงกว่า 38-40 องศาเซลเซียส
ปวดบริเวณท้องน้อย
น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น (Foul lochia)
มดลูกเข้าอู่ช้ากว่าปกติ (subinvolution)
พบเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น