Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การประเมิน คัดกรอง ส่งต่อมารดาทารก ที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ…
บทที่ 5
การประเมิน คัดกรอง ส่งต่อมารดาทารก
ที่มีภาวะเสี่ยงและปัญหาสุขภาพ
ปัจจัยด้านชีวฟิสิกส์
biophysical factor
พันธุกรรม
มีผลต่อการเจริญเติบโต
และผิดปกติทารก
ครรภ์แฝด
พันธปุกรรมในครอบครัว
โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม
ของคู่สมรส
โภชนาการ
หากได้รับไม่เพียงพอ
ผลต่อพัฒนาการทารก
ตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
poor ANC
Cephalopelvic disproportion
Underweight
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
มากกว่าเกณฑ์
Fetal death
hypoxia
Overweight
HT, CPD, DM
Fetal Macrosomia
การแพทย์และสูติกรรม
แท้ง
สูญเสียทารกในครรภ์
จากความผิดปกติ
ภาวะแทรกซ้อนสุขภาพ
ของมารดา
DM/HT/twins/โรคเลือด
เสี่ยงตามภาวะแทรกซ้อนของมารดา
บุตรปัญญาอ่อน
พิการแต่กำเนิด
มีโอกาสทารกเป็นอีก
ปัจจัยด้านจิตใจ
psychological factor
ก่อนตั้งครรภ์
ติดสารเสพติด
ถูกทำร้ายร่างกาย
ปัญหาการปรับตัว
เกิดความเครียด
วิตกกังวล
Spontaneous abortion
LBW
Prematurity
ขณะตั้งครรภ์
ขาดการสนับสนุนจากครอบครัว
สูญเสียภาพลักษณ์
ไม่ยอมรับการตั้งครรภ์
ระยะคลอด
ซึมเศรัาหลังคลอด
หลังคลอด
ความกลัวต่อการคลอด
ไม่สามารถเบ่งคลอดได้เอง
ปัจจัยส่วนบุคคล
sociodemographic factor
นำไปสู่ความพิการแต่กำเนิดทารก
ปัญหาเศรษฐกิจ เสี่ยงภาวะ
โภชนาการไม่เหมาะสม
ไม่มาฝากครรภ์ตามนัด
อายุมากกว่า 35 หรือน้อยกว่า 17
แบบแผนสุขภาพ
การสนับสนุนทางสังคม
poor ANC
preeclampsia
สารเสพติด
บุหรี่
LBW,preterm
สุรา
fetal alcohol syndrome
ยาสเพติด
Birth defect, LBW,
neonatal withdrawal
ปัจจัยด้า้นสิ่งแวดล้อม
environment factor
ติดเชื้อ
ได้รับสารเคมี รังสี
Spontaneous abortion
Congenital anormalies
LBW
Preterm
การวินิจฉัยภาวะเสี่ยง
Low risk
ไม่มีภาวะแทรกซ้อน
วัยรุ่น, ครรภ์แรก,สูง<145
ระยะห่างตั้งครรภ์>10ปี/ < 1 ปี
นน. < 40
Moderate risk
ต้องได้รับการตรวจวินิจฉัย
ต้องเฝ้าระวัง
อายุ > 35ปี
เคยคลอดบุตร
นน. < 2500 กรัม
นน. > 4000 กรัม
High risk
ผลกระทบรุนแรงต่อมารดา
และทารก ต้องดูแลใกล้ชิด
HT, Heart, Twins, Post term, DM
Anemia เลือดออก
การพยาบาลตามระดับความเสี่ยง
เสี่ยงต่ำ
การพยาบาลที่ รพ.สต.ได้
ดูแลตั้งครรภ์เหมือนรายปกติ
เฝ้าระวังภาวะเสี่ยง
ส่งต่อไปยัง รพ.อำเภอเมื่อมีความผิดปกติ
เสี่ยงปานกลาง
รพ.อำเภอ รพท.
ตรวจวินิจฉัยเบื้องต้น และเฝ้าระวัง
ส่งต่อ รพศ.เมื่อผิดปกติ หรือความเสี่ยงรุนแรงขึ้น
เสี่ยงสูง
รพ.ที่มีแพทย์เฉพาะทาง
ตรวจติดตามอาการอย่างใกล้ชิด
บทบาทการดูแลสตรีตั้งครรภ์ภาวะเสี่ยง
การพยาบาลระยะเริ่มแรก
ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และมาตามนัด
วินิจฉัยคาดคะเนอายุครรภ์ที่ถูกต้อง
ประเมินภาวะเสี่ยง
แนะนำการปฏิบัติตัว
ประเมินสภาพอารมณ์ จิตใจ และให้การดูแล
บันทึกข้อมูลให้ครอบคลุม
การกดูแลอย่างต่อเนื่อง
วางแผนการพยาบาลตามอาการของมารดา
นัดตรวจสม่ำเสมอ
ให้ความรู้การดูแลตนเอง
ส่งเสริมสุขภาพ การออกกำลังกาย
ติดตามการตรวจพิเศษ
เตรียมความพร้อมมารดาและครอบครัว
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาลลดความวิตกกังวล
ประเมินภาวะเครียด
ให้ข้อมูล ความรู้การดูแลตนเอง เพื่อลดความกังวล
หาสาเหตุของความเครียดและร่วมกันแก้ไข
นางพิชญา สานต๊ะ เลขที่ 49
นศ.พยบ.ชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 28