Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวัดทาง วิทยาการระบาด - Coggle Diagram
การวัดทาง
วิทยาการระบาด
ชนิดของการวัดทางระบาดวิทยา
การวัดเพื่อหาความสัมพันธ์ (Measures of Association)
เป็นการวัดความสัมพันธ์ระหว่างการได้รับปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุหรือเป็นปัจจัยเสี่ยง (Risk factors) กับการเกิด โรค(Disease) ระหว่างกลุ่มประชากรที่ศึกษา 2 กลุ่ม เพื่อเปรียบเทียบกันว่าในกลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยงจะเกิดโรคมากเป็นกี่เท่าของกลุ่มที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยง
การวัดการเกิดโรคในชุมชน (Measures of Disease Frequency)
เป็นการวัดความมากน้อยของโรคหรือปัญหาสุขภาพในกลุ่มประชากรที่สนใจ รวมทั้งความพิการหรือการเสียชีวิต
ซึ่งเป็นผลที่เกิดขึ้นจากการเป็นโรคได้แก่ อตัราอุบัติการณ์ และอัตราความชุก
การวัดผลกระทบที่เกิดขึ้นกับชุมชน (Measures of Potential Impact)
เป็นการวัดขนาดของผลกระทบที่เกิดขึ้นจากโครงการรณรงค์ที่ดำเนินการให้การป้องกันหรือกำจัดปัจจัยเสี่ยงในชุมชนว่า ภายหลังจากที่ได้ดำเนินมาตรการควบคุมป้องกันไปแล้ว
เครื่องมือพื้นฐานที่ใช้ในการวัด (Basic Tools for Measurement)
สัดส่วน (Proportion หรือ
Proportional Rate)
สัดส่วนหมายถึงการเปรียบเทียบระหว่างเลขตัวตั้งซึ่งเป็นประชากรกลุ่มย่อยกลุ่มหนึ่งกับเลขตัวหารซึ่งเป็นผลรวมของประชากรทุกกลุ่มที่ร่วมอยู่ในเหตุการณ์อย่างเดียวกัน
ดัชนี (INDEX)
เครื่องชี้วัดถึงสถานการณ์ที่เป็นอยู่ในทางสาธารณสุขค่า อัตราอัตราส่วน และสัดส่วนล้วนเป็นดัชนีสุขภาพประเภทหนึ่งทั้งสิ้น เช่น ดัชนีชีพ
อัตรา (Rate)
ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งในกลุ่มประชากรที่ศึกษา ณ ช่วงเวลาที่กำหนด
การนับ(Count)หรือจำนวน (Number)
เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุดในการวัดเชิงปริมาณ หมายถึง จำนวนของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงในกลุ่มประชากรที่ศึกษา หรือมีลักษณะบางสิ่งบางอย่างร่วมกัน ณ พี้นที่ที่กำหนด
และในระยะเวลาที่ศึกษา
อัตราส่วน (Ratio)
การเปรียบเทียบเลขตัวตั้งซึ่งเป็นจำนวนเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในกลุ่มประชากรที่
ศึกษากับเลขตัวหาร โดยที่เลขตัวตั้งไม่ได้เป็นสมาชิกของเลขตวัหาร
อัตราส่วนความเสี่ยง (Risk Ratio) หรือ ความเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative Risk)
การเปรียบเทียบความ
เสี่ยงของการเป็นโรคระหว่างกลุ่มประชากรที่มีปัจจัยเสี่ยงกับกลุ่มที่ไม่มีปัจจยัเสี่ยงโดยเริ่มต้นศึกษาในคน 2 กลุ่ม