Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ ๕ เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล - Coggle Diagram
บทที่ ๕ เทคนิคการบริหารทางการพยาบาล
การเจรจาต่อรอง (Negotiation)
การเจรจาต่อรอง ( Negotiation) หมายถึง กระบวนการที่บุคคลระหว่าง ๒ คน หรือมากกว่าขึ้นไป มีการติดต่อสื่อสารกลับไปกลับมาเพื่อหารือความต้องการ หรือผลประโยชน์ที่แตกต่างกัน เพื่อหาข้อสรุปร่วมกันหรือบรรลุความต้องการและเป็นที่พอใจของทั้ง ๒ ฝ่าย
องค์ประกอบของการเจรจาต่อรอง
บุคคลหรือกลุ่มบุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปที่มีความคิดเห็น หรือความต้องการที่แตกต่างกัน
กระบวนการ การเจราจาต่อรองเป็นกระบวนการที่มีขั้นตอน
ความพยายามที่จะแก้ปัญหา เรื่องที่จะเจรจา
ความแตกต่าง แต่ละฝุายต้องตระหนักว่าทั้งคู่มีความแตกต่างกัน
กระบวนการเจรจาต่อรอง (The negotiation process)
ขั้นเตรียมการและวางแผน ( preparation and planning)
ขั้นกำหนดกฏกติกาพื้นฐาน (definition of ground rules)
ขั้นทำความชัดเจนและหาเหตุผลสนับสนุน (clarification and justification)
ขั้นการต่อรองและแก้ปัญหา ( bargaining and problem solving)
ขั้นจบการเจรจาและนำไปสู่การปฏิบัติ (closure and implementation)
เทคนิคการเจรจาต่อรอง
๑ การต่อรองแบบนุ่ม หมายความว่า ผู้ต่อรองยินดีเสนอและยินยอมคู่เจราจาในบางประเด็นมีความไว้ใจกันมองคู่เจรจาเป็นมิตรและยอมตามเพื่อหลีกเลี่ยงการทะเลาะเบาะแว้ง
ข้อดี คือ สามารถส่งเสริมและรักษาสัมพันธ์ภาพของทั้ง๒ ฝ่ายไว้ได้
๒ การต่อรองแบบแข็ง หมายความว่า ผู้เจรจายึดจุดยืนของตนเป็นหลัก โดยไม่ค านึงถึงข้อเจรจาของฝุายตรงข้ามมองคู่เจรจาเป็นศัตรู เรียกร้องเพื่อต้องการเอาชนะฝ่ายเดียว
ข้อดี คือ ข้อตกลงอาจยุติโดยที่ตนเป็นฝ่ายเสียเปรียบ
ข้อเสีย
ทำให้เสียสัมพันธ์ภาพ อาจเกิดการทะเลาะ ปะทะกัน
ข้อเสีย การต่อรองอาจทำให้เสียเปรียบและถูกครอบงำโดยคู่เจรจาที่ใช้การต่อรองแบบแข็ง
การตัดสินใจ (Decision making)
การตัดสินใจ เป็นกระบวนการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ มีการคิดพิจารณา ไตร่ตรอง อย่างมีเหตุผล บนพื้นฐานของกฎเกณฑ์ เพื่อเลือกทางเลือกซึ่งมีอยู่หลายแนวทางที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ทรัพยากรบุคคลมีการสั่งการเพื่อนำไปปฏิบัติให้บรรลุผลตามเปูาหมายที่ต้องการ
ความสำคัญของการตัดสินใจ
๑ ช่วยให้เกิดแนวทางปฏิบัติที่มีคุณภาพ เพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ
๒ ช่วยลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน
ช่วยให้บุคคลสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้บุคคลเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในความสำเร็จของตนเองที่การตัดสินใจนั้นๆก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อผู้อื่นได้
ช่วยให้บุคคลมีความมั่นใจและมีการพัฒนาศักยภาพของตนให้ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวิต
ช่วยให้เกิดการประหยัดเวลา แรงงาน ทรัพยากรในการปฏิบัติ
ขอบเขตในการตัดสินใจ
๑ การตัดสินใจโดยอาศัยขอบเขตตามระเบียบข้อบังคับ และกฎหมาย มีการก าหนดหน้าที่
๒ การตัดสินใจโดยอาศัยขอบเขตทางสังคม เป็นการอาศัยหลักทางคุณธรรม จริยธรรม ระบบค่านิยมและวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยึดถืออยู่
กระบวนการตัดสินใจ
การระบุปัญหาหรือกำหนดปัญหา
เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
หาวิธีการแก้ปัญหาวิเคราะห์ทางเลือก
พิจารณาถึงผลดีผลเสียของแต่ละวิธี
เลือกวิธีที่ดีที่สุดไปใช้
ดำเนินการสั่งการ
ประเมินผลการตัดสินใจ
การบริหารเวลา
ระบบการบริหารเวลา (Time Management System)
๑ การกำหนดความสำคัญ (Set Priorities)
๒ การวางแผน (Planning)
๓ การปฏิบัติตามตารางเวลาที่กำหนด (Protecting Schedule Times)
กลยุทธการบริหารเวลา
ผู้บริหารที่ไม่มีเวลา
เป็นผู้บริหารที่มักจะใช้เวลาการทำงานส่วนใหญ่เกี่ยวกับการประชุม
ผู้บริหารที่มีเวลา
เป็นผู้บริหารที่มักจะใช้เวลาส่วนใหญ่ในการวางแผนการประชุม เพื่อให้การประชุมเกิดประสิทธิภาพมากที่สุด
เทคนิคการบริหารการใช้เวลาที่มีประสิทธิภาพ
๑ จดบันทึกการใช้เวลาประจำวันไว้อย่างสม่ าเสมอ
๒ วิเคราะห์สาเหตุของการรบกวนเวลาหรือการสูญเสียเวลาไปโดยไม่จำ
๓ ปรับปรุงข้อบกพร่องหรือสาเหตุที่ทำให้เสียเวลาตามที่วิเคราะห์ได้
การบริหารความขัดแย้ง
ความขัดแย้ง (Conflict) คือ สภาพการณ์ที่คนหรือกลุ่มคนเกิดความไม่เข้าใจกัน มีความรู้สึกไม่พึงพอใจข้องใจที่จะปฏิบัติงาน
ประเภทของความขัดแย้ง
๑ ความขัดแย้งตามแนวตั้ง (Vertical Conflict) เป็นความขัดแย้งที่เกี่ยวข้องกับสายงานบังคับบัญชา นับตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูงขององค์การจนถึงผู้ปฏิบัติงาน ความขัดแย้งประเภทนี้มักมีความสัมพันธ์กับการสื่อสาร
๒ ความขัดแย้งตามแนวนอน (Horizontal Conflict) เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับผู้บริหาร หรือผู้ปฏิบัติงานที่อยู่ในระดับเดียวกันซึ่งต่างฝุายต่างก็มีอำนาจตามตำแหน่ง (Authority) ของตนเอง ความขัดแย้งประเภทนี้มักมีความสัมพันธ์กับการสื่อสารการประสานงาน และความร่วมมือ
๓ ความขัดแย้งตามแนวทแยงมุม (Diagonal Conflict) เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับผู้บริหารหรือผู้ปฏิบัติงานในระดับใดระดับหนึ่งกับ ต่างระดับต่างสายงานบังคับบัญชา ความขัดแย้งประเภทนี้มีความสัมพันธ์กับการสื่อสาร การประสานงานและความร่วมมือ
สาเหตุของความขัดแย้ง
ผลประโยชน์
บทบาทไม่ชัดเจน
เป้าหมายการทำงาน
อำนาจ
การเปลี่ยนแปลง
การบริหารความขัดแย้ง
๑ การชนะ–แพ้ (Domination) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยวิธีการที่ฝุายหนึ่งเป็นผู้ชนะอีกฝ่ายหนึ่ง
๒ การประนีประนอม (Compromise) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยที่ต่างฝ่ายต่างได้เพียงบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น
๓ การประสานประโยชน์ (Integrated Solution) หมายถึง การแก้ปัญหาความขัดแย้งที่เน้นความพอใจของทั้งสองฝุายมากที่สุด เป็นการแก้ปัญหาที่ไม่มีการแพ้–ชนะ
ผลของความขัดแย้งมีทั้งผลดีและผลเสีย
ผลดี
ทำให้องค์กรไม่อยู่นิ่งหรือเฉื่อยชา
ทำให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ส่งเสริมการพัฒนาการทำงานอย่างมีระบบ และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ช่วยให้บุคลากรมีความรอบคอบ รู้จักใช้เหตุผลหรือใช้สติปัญญาในการแก้ไขปัญหาต่างๆ
ส่งเสริมให้บุคลากรมีการเปลี่ยนแปลงตนเอง
ผลเสีย
ทำให้เกิดความเครียด ความวิตกกังวล
ขาดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการทำงาน
ขาดการยอมรับ ความไว้วางใจหรือความเคารพซึ่งกันและกัน
ขาดความร่วมมือและความสามัคคีในหมู่คณะ
ทำให้บุคคลหรือกลุ่มทำงาน ขาดประสิทธิภาพในการทำงาน
การเสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment)
การเสริมสร้างพลังอำนาจ เป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคคล โดยผู้บังคับบัญชาถ่ายโอนอำนาจ ให้อิสระในการตัดสินใจ และจัดหาทรัพยากรในการปฏิบัติงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชา รวมถึงการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน
รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจ ๒ ลักษณะ
การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง
การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านจิตใจ
ความสำคัญของการเสริมสร้างพลังอำนาจ
การเสริมสร้างพลังอำนาจจึงมีความสำคัญต่อองค์กรพยาบาล ๓ ระดับ
๑.ความสำคัญต่อบุคคลในองค์กร
๑.๑การเสริมสร้างพลังอำนาจบุคคลระดับผู้ปฏิบัติงาน คือ การที่ให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับโอกาส ในการแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจร่วมกับผู้บริหารในการดำเนินงานขององค์กร
๑.๒การเสริมสร้างพลังอำนาจระดับผู้บริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจในระดับนี้จะมีความแตกต่างจากผู้ปฏิบัติ คือ ต้องเป็นทั้งผู้ที่ได้รับการเสริมสร้างพลังอำนาจและเป็นผู้เสริมสร้างพลังอำนาจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา
๒ความสำคัญต่อทีมงาน
๓ความสำคัญต่อระดับองค์กร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างพลังอำนาจของผู้บริหารการพยาบาล
ระบบโครงสร้างองค์กร
วัฒนธรรมองค์กร
ผู้บริหารองค์กร
บุคลากร
ความไว้วางใจในองค์กร
ลักษณะงาน
สัมพันธภาพระหว่างหัวหน้ากับลูกน้อง