Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลอาชีวอนามัย, อาชีวอนามัย” (Occupational Health), สรุป,…
การพยาบาลอาชีวอนามัย
-
-
-
-
-
- หลักการป้องกันโรค
และการบาดเจ็บที่เกิดจากการทำงาน
-
-
-
-
-
-
-
-
สรุป
-
ลักษณะ
งานที่ทำ
ควบคุมดูแลให้อยู่ในสภาพที่ไม่ทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ ส่งเสริมให้คนทำงานมีความรู้ ความสามารถและทักษะที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
-
การทำงานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะรวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนการปฏิบัติงานของลูกจ้างมิให้ลูกจ้างได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจและสุขภาพอนามัย
ให้นายจ้างจัดให้ผู้บริหาร หัวหน้างาน และลูกจ้างทุกคนได้รับการฝึกอบรมความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
-
-
-
-
ห้ามมิให้ลูกจ้างหญิงทำงานเหมืองแร่ งานก่อสร้างที่ต้องทำงานใต้ดิน ใต้น้ำ ในถ้ำในอุโมงค์เว้นแต่สภาพของการทำงานไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือร่างกายของลูกจ้าง งานที่ต้องทำบนนั่งร้านที่สูงกว่าพื้นดินตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป งานผลิตหรือขนส่งวัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟ
ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างที่เป็นหญิงตั้งครรภ์ทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักรหรือเครื่องยนต์ที่มี
ความสั่นสะเทือน งานขับเคลื่อนหรือติดไปกับยานพาหนะ งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก
หรือเข็นของหนักเกิน 15 กิโลกรัมและงานที่ทำในเรือ
ห้ามมิให้เด็กทำงานเกี่ยวกับการหลอมโลหะ งานปั๊มโลหะ งานสารเคมีที่เป็นอันตรายงานเกี่ยวกับความร้อน ความเย็น การสั่นสะเทือน เสียงและแสงที่มีระดับแตกต่างไปจากปกติที่มีผลเสียต่อสุขภาพ งานขับหรือบังคับรถยกหรือปั้นจั่น และงานที่ต้องทำบนนั่งร้านที่สูงกว่าพื้นดินตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไปำ
กำหนดให้นายจ้างหรือสถานประกอบการที่มีลูกจ้างน้อยกว่า 50 คน ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่รักษา
ความปลอดภัย (จป.)
นายจ้างหรือสถานประกอบการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 50 คนขึ้นไป ต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน (จป.) ระดับหัวหน้างาน ระดับบริหารและระดับวิชาชีพ
โรงงานขนาดใหญ่ที่มีคนงานตั้งแต่ 1,000 คนขึ้นไปต้องจัดให้มีพยาบาลประจำ 2 คน และมีแพทย์ประจำ1 คน และมีอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาล
โรงงานขนาดกลาง ที่มีคนงานตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป ต้องจัดให้มีพยาบาลประจำ 1 คนมีแพทย์ประจำเป็นบางเวลาและมีอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาล
-
ห้ามมิให้นายจ้าง จ้างลูกจ้างที่มีอายุต่ ากว่า 15 ปี และในกรณีที่มีการจ้างเด็กอายุต่ำกว่า
18 ปี เป็นลูกจ้างให้แจ้งการจ้างลูกจ้างซึ่งเป็นเด็กนั้นต่อพนักงานตรวจแรงงานภายใน
15 วัน นับตั้งแต่วันที่เด็กเข้าทำงาน
ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่งเป็นเด็กอายุต่ ากว่า 18 ปี ทำงานในระหว่างเวลา 22.00 น. - 06.00 น. เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย
ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงตั้งครรภ์ทำงานในระหว่างเวลา 22.00 น.- 06.00 น.ทำงานล่วงเวลาหรือทำงานในวันหยุด
-