Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยง…
บทที่ 4 การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีภาวะเสี่ยง และปัญหาสุขภาพ เนื่องจากการตั้งครรภ์ใน
ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด**
ภาวะปริมาณน้ำคร่ำ
กลไกหลักในการควบคุมปริมาณน้ำคร่ำ คือ กระบวนการกลืนน้ำคร่ำของทารก ในครรภ์ และการขับถ่ายปัสสาวะของทารกในครรภ์
-
-
การวัดปริมาณน้ำคร่ำ
-
-
3.ดัชนีปริมาณน้ำคร่ำ (amniotic fluid index, AFI)
ภาวะน้ำคร่ำผิดปกติ
ภาวะน้ำคร่ำมาก (polyhydramnios) คือ จำนวนน้ำคร่ำมากกว่า 2,000 มล. หรือ AFI≥ 25 ซม.
ชนิดครรภ์แฝดน้ำ
- แบบเฉียบพลัน เกิดภายใน 2-3 วัน เกิดเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 20 สัปดาห์ ท้าให้หญิงตั งครรภ์มีอาการผิดปกติได้มาก
- แบบเรื้อรัง น้ำคร่ำค่อยๆเพิ่มมากขึ้นใช้เวลานาน 2-3 สัปดาห์ ขึ้นไป มักเกิดเมื่ออายครรภ์ 28 สัปดาห์ขึ้นไป จะมีอาการแน่นอึดอัดเมื่อท้องใหญ่มาก
-
-
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ เคยตั้งครรภ์แฝดน้ำ หรือทารกในครรภ์พิการแต่กำเนิดของระบบประสาทส่วนกลาง มีภาวะเบาหวานในขณะตั้งครรภ์ ขนาดของหน้าท้องขยายมากขึ้น
-
-
การวินิจฉัยแยกโรค
1. ครรภ์ไข่ปลาอุก โดยจะแยกจากครรภ์แฝดน้ำ ซึ่งครรภ์ไข่ปลาอุกมักมีเลือดออก กะปริดกะปรอย ก้อนมดลูกไม่มีลักษณะเป็นคลื่นน้ำทางหน้าท้อง U/S ไม่พบตัวเด็ก
2. ถุงน้ำในรังไข่ (Ovarian cyst)ก้อนเนื้องอกจะกดที่มดลูก เมื่อตรวจทางช่องคลอด จะพบว่า ปากมดลูกเคลื่อนต่ำลงมา มดลูกจะถูกดึงรั้ง ปากมดลูกจะอยู่สูง
-
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อมารดา
ระยะตั้งครรภ์ : ความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์ , คลอดก่อนกำหนด , ศีรษะเด็กลอยหรือท่าผิดปกติ , ความพิการของทารก , ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์คลอด , รกลอกตัวก่อนกำหนด
ระยะหลังคลอด : ตกเลือดหลังคลอด , ติดเชื้อหลังคลอด
ระยะคลอด : มดลูกหดรัดตัวไม่ดี , สายสะดือย้อย , การคลอดยากเพราะทารกท่าผิดปกติ
ผลต่อทารก : ทารกคลอดก่อนกำหนด , ทารกเจริญเติบโตในครรภ์ไม่ดี , ทารกมีความผิดปกติแต่กำเนิด , อัตราตายปริกำเนิดสูง
แนวทางการดูแล
ระยะตั้งครรภ์
-
- ให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
- รักษาโรคหรือภาวะผิดปกติที่มีร่วม เช่น ให้ยาขับปัสสาวะ สตรีตั้งครรภ์มีอาการบวมมาก
- ถ้าพบความผิดปกติของทารก อาจสิ้นสุดการตั้งครรภ์ โดยแพทย์เจาะถุงน้ำคร่ำ ให้น้ำคร่ำค่อยๆไหล ออกมาอย่างช้าๆ แล้วให้ทารกคลอด
- U/S เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของทารกในครรภ์
- การให้ยา Indomethacin ขนาด 1.5-3 มก./กก./วัน ซึ่งยาตัวนี้ มีกลไกการออกฤทธิ์ที่ปอดของ ทารกในครรภ์ และลดการขับปัสสาวะของทารกในครรภ์
ระยะเจ็บครรภ์
- เมื่อทารกอยู่ในท่าผิดปกติหรือภาวะสายสะดือย้อยให้จัดการช่วยคลอด โดยการผ่าตัดทารก ออกทางหน้าท้อง
- อาจเกิดการตกเลือดหลังคลอดจากรกไม่ลอกตัว หรือมดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังรกคลอด ป้องกันโดยการฉีด Methergin หรือ Oxytocin หลังทารกคลอด
- การคลอดจะดำเนินไปตามปกติ นอกจากบางรายที่มดลูกหดรัดตัวไม่ดีต้องพิจารณาให้ Oxytocin เพื่อช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
-
-
-
จัดทำโดย
นางสาวพิมลมาศ ศักดิ์ศรี
รหัสนักศึกษา 602701069
ชั้นปีที่ 4 รุ่นที่ 35
วิทยาลัยพยาบาลศรีมหาสารคาม