Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertention :…
ภาวะความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์ (Pregnancy Induced Hypertention : PHI)
ระดับความรุนแรง
Gestational hypertention
BP 140/90 mmHg หรือ systolic เพิ่มขึ้น 30 mmHg diastolic เพิ่มขึ้น 15 mmHg จากค่าความดันเดิม
ไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ
ความดันจะกลับคืนสู่ภาวะปกติหลังคลอด
Mild preeclampsia
BP 140/90 mmHg หรือ systolic เพิ่มขึ้น 30 mmHg diastolic เพิ่มขึ้น 15 mmHg จากค่าความดันเดิม
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ 1+ - 2+
น้ำหนักตัวเพิ่มมากกว่า 2 ปอนด์/สัปดาห์ ในไตรมาสที่ 2ของการตั้งครรภ์และ 1 ปอนด์/สัปดาห์ ในไตรมาสที่ 3
อาจมีอาการบวมเล็กน้อยบริเวณส่วนบนของร่างกายหรือใบหน้า
Severe preeclamsia
BP 160/110 mmHg
ตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ 3+ - 4+ หรือพบโปรตีนในปัสสาวะ 5 กรัม จากการเก็บปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
ปัสสาวะออกน้อย (24 ชั่วโมง 500 ml./น้อยกว่า)
ปวดศีรษะ
ปวดบวมน้ำ
การทำงานของตับเสียไป มีอาการจุกแน่นลิ้นปี่
thrombocytopenia
Eeclapsia
มีอาการแสดงของ Preeclampsia นำมาก่อนและมีอาการชักร่วมด้วยหรือมีอาการหมดสติไม่รู้ตัวตามมา
ปัจจัยเสี่ยงของการเกิด Preeclampsia
การตั้งครรภ์ครั้งแรก
การตั้งครรภ์ครั้งแรกกับสามีคนปัจจุบัน หรือสามีเคยมีประวัติประวัติภรรยาที่ผ่านมามีภาวะความดันโลหิตสูง
อายุน้อยกว่า 19 ปี หรือมากกว่า 40 ปี
ประวัติครอบครัวมีมารดาหรือพี่น้อยเคยเป็น
มีประวัติเป็นโรคทางอายุรกรรม เช่น HT
มีประวัตเป็นโรคทางสูติกรรม เช่น ครรภ์แฝด
มีประวัติการตั้งครรภ์ที่ผ่านมา เช่น IURG
การตรวจวินิจฉัย
ภาวะ Preeclampsia
ตรวจความดันโลหิต
ตรวจ Roll Over Teast
MAP (men aeterial pressure)
มีอาการบวมขึ้นทันทีทันใด
มีโปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria)
ภาวะ Eeclampsia
อาการนำก่อนเกิดอาการชัก
อาการปวดศีรษะ
ตาพร่ามัว
เห้นภาพซ้อน
เจ็บใต้ลิ้นปี่หรือบริเวณช่ายโครงขวา
มีอาการสั่นกระตุกของกล้ามเนื้อโดยเฉพาะบริเวณเข่า
ผลกระทบ
ต่อมารดา
เกิดอันตรายจากอาการขัก อาจทำให้เสียชีวิตได้
Congestive heart failure
เสียเลือดและช็อคจากการลอกตัวของลกก่อนกำหนด
เกิดภาวะะแทรกซ้อนต่างๆ
HELLP Sysrome
Acult renal failure
การกลับเป็นซ้ำของโรคในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
ผลต่อทารก
Placental insufficiency
คลอดก่อนกำหนด
IUGR
ทารกที่คลอดออกมาอาจเกิดภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาล
ผู่ที่มีภาวะ Gestational hypertention
คัดกรองสตรีที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
ป้องกันไม่ให้เกิดความรุนแรงของโรคขึ้น
ผู้ที่มีภาวะ Mild Preeclampsia
ระยะตั้งครรภ์
ประเมินปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค
ประเมินติดตามการเปลี่ยนแปลงของสตรีเมื่อมาฝากครรภ์
ประเมินติดตามสภาพทารก
แนะนำการดูแลตนเองที่บ้านในรายที่มีอาการคงที่
แนะนำสังเกตอาการเจ็บครรภ์จริง
ระยะคลอด
ประเมินติดตามการเปลี่ยนแปลง
ระเมินสภาพทารกในครรภ์
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ดูแลลให้ได้รับอาหาร น้ำ ยา ตามแผนการรักษา
ส่งเสริมให้มารดาและครอบครัวมีาลส่วนร่วมในการวางแผนการรักษา
อธิบายการดำเนินการของโรค
ให้การพยาบาลที่นุ่มนวล
ผู้ที่มีภาวะ Eeclapmpsia
ระยะคลอด
ติดตาม ประเมินอาการแสดงที่จะเข้าสู่ภาวะชัก
ดูแลให้มารดานอนพักบนเตียงด้วยท่านอนตะแคงซ้าย
จัดสิ่งแวดล้อมให้เงียบสงบ
วางแผนการปฏิบัติกิจกรรมให้ทำในคราวเดียวกัน
ตรวจ บันทึก IO
ฟังเสียงปอด
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา
ติดตามประเมินสภาพทารกในคครภ์
ผู้ที่มีภาวะ Eeclampsia
ติดตามการเปลี่ยนแปลงอาการและอาการแสดงของการเกิดและเตรียมความช่วยเหลือให้พร้อม