Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ,…
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
Biochemical Assessment
1. Amniocentesis คือ การตรวจวินิจฉัยก่อนคลอดโดยเจาะน้ำคร่ำ เพื่อตรวจโครโมโซมทารกในครรภ์ที่ผิดปกติ
วิธีการเจาะ
ทำโดยวิธีการปราศจากเชื้อ เจาะโดยใช้เข็มขนาดเล็กเจาะผ่านหน้าท้อง และผนังมดลูกเข้าสู่ถุงน้ำคร่ำ
ทำเมื่ออายุครรภ์ 16-18 สัปดาห์
ภาวะแทรกซ้อน
กลุ่มเลือด Rh negative ทำได้โดยการฉีด Anti-D immunoglobulinหลังการตรวจ
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
ปวดเกร็งเล็กน้อยบริเวณท้องน้อย มีเลือดหรือน้ำคร่ำออกทางช่องคลอด
คำแนะนำหลังการเจาะ
ควรสังเกต และมาพบแพทย์หากมีอาการ ปวดเกร็งหน้าท้องมาก ไข้ภายใน 2 สัปดาห์ มีน้ำหรือเลือดออกทางช่องคลอด
พักหลังจากการเจาะ1 วัน
ควรงดการออกแรงมาก เช่น ยกของหนัก
งดการร่วมเพศ อีก 4-5 วัน
บทบาทของพยาบาล
ดูแลให้ปัสสาวะเพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 15 นาที จนครบ 1 ชั่วโมง
ภายหลังเจาะให้นอนหงาย กดแผลหลังจากเอาเข็มออก ประมาณ 1 นาที และปิดแผลด้วยพลาสเตอร์
วัด Vital signs 2 ครั้ง ห่างกัน 15 นาที
จัดเตรียมอุปกรณ์ให้สะอาดปราศจากเชื้อ
ดูแลจัดท่า วัดความดันโลหิต และฟังเสียงหัวใจของทารก
2. Amniotic fluid analysis
ดูความสมบูรณ์ของปอด วิธีที่นิยมทำ 3 วิธี
2.การตรวจหาค่า L/S ratio
เพื่อดู lung maturity เนื่องจากสาร lecithin เป็น Phospholipids ทำหน้าที่เป็น surfactant คลุมบริเวณ alveoli
สัดส่วนของ L/S จะเท่าๆกัน จนกระทั่ง 30 สัปดาห์ หลังจากนั้น sphingomyelin จะเริ่มคงที่ ขณะที่ lecithin จะเพิ่มขึ้น
ขาดสาร surfactant นี้จะทำให้เกิด RDS
ค่าปกติของ L/S rotio
26 สัปดาห์ ค่า S > L
อายุครรภ์ 26-34 สัปดาห์ ค่า L / S ratio = 1:1
อายุครรภ์ 34-36 สัปดาห์ ค่า L จะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว แต่ S จะมีปริมาณลดลงเล็กน้อย ทำให้ ratio สูงขึ้น เปลี่ยนเป็น 2:1
L / S ratio > 2 แสดงว่าปอดทารกสมบูรณ์เต็มที่ โอกาสเกิด RDS ต่ำ
3.Shake Test
ทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารกในครรภ์ โดยใช้หลักการของความสามารถในการคงสภาพของฟองอากาศของ(Surfactant)
วิธีการทำ
Shake Test
ใช้หลอด 5 หลอด ใส่น้ำคร่ำจำนวน 1 cc ,
0.75 cc , 0.5 cc , 0.25 cc และ 0.2 cc
เติม normal saline Solution ในหลอดที่ 2 , 3 , 4 และ 5 ทำให้ส่วนผสมเป็น 1 cc ทุกหลอด
เติม Ethanol 95 % ทุกหลอดเขย่านาน 15 วินาที ทิ้งไว้นาน 15 นาที
การแปลผล
Shake Test
พบว่ามีฟองอากาศเกิดขึ้น 3 หลอดแรก
แสดงว่าได้ผลบวก
ปอดของทารกเจริญเต็มที่
พบฟองอากาศ 2 หลอด แรก ได้ผล intermediate
ปอดทารกยังไม่เจริญเต็มที่
ฟองอากาศเพียงหลอดเดียวหรือไม่พบเลย
ปอดทารกยังเจริญไม่เต็มที่
ถ้าได้ลบ ควรตรวจหาค่า L/S ratio ต่อไป เพราะอาจเป็นผลลบลวง
1.จากการดูสีของน้ำคร่ำ มีเลือดปน ใสหรือขุ่น มีสีของขี้เทาปนหรือไม่
3. Alpha fetoprotein (AFP)
เป็นการตรวจเลือดมารดา ดูค่าโปรตีนที่สร้างมาจากรก
ระยะเวลาในการตรวจ 16-18 wks.
ค่าปกติ AFP 2.0 – 2.5 MOM (Multiple of median)
AFP สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 15 ของการตั้งครรภ์ แสดงว่าทารกมีความผิดปกติของ open neural tube เช่น anencephaly myelomeningocele Turner’s syndrome หรือทารกตายในครรภ์
Turner Syndrome
ผู้ป่วยภาวะนี้จะมีโครโมโซม X เพียงตัวเดียว ผู้ป่วยมีลักษณะเฉพาะ คือ มีรูปร่างเตี้ย คอมีพังผืด และปลายแขนกางออก ส่งผลให้ผู้ป่วยมีรังไข่ที่ไม่เจริญ ไม่มีประจำเดือน และอาจเกิดภาวะมีบุตรยาก
Spinabifida
มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตามตำแหน่ง
Myelomeningocele ไม่สามารถเชื่อมตัวที่บริเวณหลังส่วนเอว ฉะนั้นไขสันหลังจึงเกิดได้ไม่สมบูรณ์
ค่า AFP ต่ำ สัมพันธ์กับ Down’ syndrome
4. Fetoscopy
หรือเรียกว่า laparo amnioscope สอดเข้าไปในถุงน้ำคร่ำโดยผ่านผนังหน้าท้องดูความผิดปกติของทารก
ขั้นตอนการทำ
ใช้ ultrasound เป็นตัวช่วยในการทำ
ตรวจสอบปริมาณน้ำคร่ำหลังทำ
ตรวจสอบ FHS ก่อนและหลังทำ
หลังทำงดการทำงานหนัก 1 – 2 สัปดาห์ เนื่องจากอาจมีอาการปวดท้อง
งดน้ำงดอาหารก่อนทำ 6-8 ชั่วโมง
ภาวะแทรกซ้อน แท้งบุตร 12 % เลือดออกทางช่องคลอด ติดเชื้อน้ำคร่ำรั่วอย่างรุนแรงเลือดแม่กับเลือดลูกปนกัน
CVS (Chorionic villous sampling)
การดูดเอาตัวอย่างของรกเด็กมาตรวจหาความผิดปกติของโครโมโซม
ทำช่วง 10-13 wks.
ไม่ควรทำ ก่อนอายุครรภ์ 10 สัปดาห์
เพราะเพิ่มอัตราการเกิดทารกพิการแบบ limb reduction defect
ไม่สามารถตรวจพบ Spina Bifida ได้
cordocentesis
การเจาะดูดเลือดจากหลอดเลือดสายสะดือ
ทั่วไปเจาะจากหลอดเลือดดำ
การเจาะหลอดเลือดแดงจะกระตุ้นให้เกิดหลอดเลือดหดรัดตัว หัวใจทารกเต้นช้าลง
ทำ ช่วงขณะอายุครรภ์ 18 สัปดาห์
Biophysical Assessment
Ultrasound
คือ การใช้คลื่นเสียงที่มีความถี่สูง ผ่านผิวหนังเข้าไปเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจ ดูขนาด ขอบเขต รูปร่าง การเคลื่อนไหวของอวัยวะ
แนวทางการตรวจ ultrasound
ตรวจลักษณะทางกายวิภาคของทารก
ตรวจ 4- chamber view ของหัวใจทารก
ประเมินอายุครรภ์และการเจริญเติบโตของทารก
ปริมาณน้ำคร่ำ
ดูลักษณะและตำแหน่งของรก
ดูจำนวนและการมีชีวิตของทารก
ข้อบ่งชี้ Ultrasound ด้านมารดา
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ในระยะเริ่มแรก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
ตรวจดูตำแหน่งที่รกเกาะ
ตรวจดูภาวะแฝดน้ำ / น้ำคร่ำน้อย
ตรวจในรายสงสัยครรภ์ไข่ปลาอุก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์นอกมดลูก
การตั้งครรภ์ที่มีห่วงอนามัยอยู่ด้วย
เพื่อดูความผิดปกติ เช่น ก้อนเนื้องอกที่อุ้งเชิงกราน
ตรวจดูตำแหน่งที่เหมาะสมก่อนทำ amniocentesis
ข้อบ่งชี้ Ultrasound ด้านทารก
ดูการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ หรือคาดคะเนอายุครรภ์
ตรวจดูความผิดปกติของทารกในครรภ์
เพื่อวินิจฉัยภาวะทารกตายในครรภ์
เพื่อดู lie position และส่วนนำของทารกในครรภ์
เพื่อตรวจดูการหายใจของทารกในครรภ์ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
เพื่อตรวจดูจำนวนของทารกในครรภ์
การแปลผล Ultrasound
(Gestational Sac : GS) ขนาดของถุงการตั้งครรภ์
อายุครรภ์ 5 -7 week ถุงที่หุ้มทารกไว้เห็นได้ในระยะแรกของการตั้งครรภ์ ใช้ยืนยันการตั้งครรภ์ หาอายุครรภ์ โดยวัดเส้นผ่าศูนย์กลางของถุงการตั้งครรภ์ ทั้ง 3 แนวคือ กว้าง ยาว สูง
(Crown-rump lerght : CRL) ความยาวของทารก
อายุครรภ์ 7-14 week คือ ความยาวตั้งแต่ศีรษะถึงส่วนล่างสุดของกระดูกไขสันหลัง ซึ่งมีความแม่นยำมาก คลาดเคลื่อนเพียง 3 - 7 วัน
Biparietal diameter : BPD เส้นผ่าศูนย์กลางของส่วนที่ยาวที่สุดของศีรษะของทารก
การคำนวณจะแม่นยำสุด คือ ช่วง 14 - 26 สัปดาห์ คำนวณอายุครรภ์โดยประมาณ คือ
BPD (ซม.) X 4 สัปดาห์
(Femur length : FL)ความยาวของกระดูกต้นขา
วัดจากส่วนหัวกระดูก-ปลายแหลมของปลายกระดูก ควรวัด
ก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์
(Head cicumference : Hc)
(Abdominal circumference : Ac)เส้นรอบท้อง
วัดยาก ไม่ค่อยนิยม มีการเปลี่ยนแปลงของหน้าท้อง เช่น ทารกโตกว่าอายุครรภ์หรือเล็กว่าอายุครรภ์
Fetal Biophysical profile
(BPP)
ใช้คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจวัดการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆของทารกที่ถูกกระตุ้นและควบคุมด้วยระบบประสาทส่วนกลาง
4 ตัวแปร
(การหายใจ, การเคลื่อนไหว, แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ , การเต้นของหัวใจทารก) ร่วมกับ การวัดปริมาณน้ำคร่ำอีก 1 ตัวแปร
วิธีการตรวจ
เตรียมหญิงตั้งครรภ์ในท่านอน Semi-fowler ตะแคงซ้ายเล็กน้อย
ใช้ Ultrasound ตรวจวัดข้อมูล 5 ตัวแปรที่ต้องการ
กำหนดค่าคะแนนของแต่ละข้อมูล ข้อละ 2 คะแนน
เมื่อพบว่าปกติให้ 2 คะแนน และให้ 0 คะแนนเมื่อพบว่าผิดปกติ
เกณฑ์ปกติ คะแนน =2
สังเกตนาน 30 นาที
การหายใจของทารกในครรภ์
หายใจต่อเนื่องอย่างน้อย 20 วินาที อย่างน้อย 1 ครั้ง
การเคลื่อนไหวของทารกในครรภ์
ขยับตัวหรือเคลื่อนไหวแขนขาอย่างน้อย 2 ครั้ง
แรงตึงตัวของกล้ามเนื้อ
เหยียดตัว กางแขนขา และหดกลับอย่างรวดเร็ว หรือกำและคลายมือ อย่างน้อย 1 ครั้ง
การเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
NST ได้ผลปกติ
ปริมาณน้ำคร่ำ
ตรวจพบโพรงน้ำคร่ำอย่างน้อย 1 แห่ง ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางอย่างน้อย 2 cm.
การแปลผล
คะแนน
8-10 คะแนน
แสดงว่า ปกติ ไม่มีภาวะเสี่ยงควรตรวจซ้ำใน 1 สัปดาห์
คะแนน
6 คะแนน
แสดงว่า มีภาวะเสี่ยงต่อการขาดภาวะออกซิเจนเรื้อรังของทารก ควรตรวจซ้ำใน 4-6 ชั่วโมง
คะแนน
4 คะแนน
แสดงว่า มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
คะแนน
0-2 คะแนน
แสดงว่า มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรังอย่างรุนแรง ควรให้มีการคลอดโดยเร็ว
วิธีนับลูกดิ้น
Count to ten
การนับการดิ้นของทารกในครรภ์ให้ครบ 10 ครั้ง ในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงต่อกัน ในท่านอนตะแคง
ไม่จำเป็นทำหลังรับประทานอาหาร ถ้านับลูกดิ้นไม่ถึง 10 ครั้ง แปลผลว่า ผิดปกติ
การประยุกต์วิธีการ
Cardiff count to ten
นับจำนวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้ง ในเวลา 4 ชั่วโมง ซึ่งนิยมให้นับในช่วงเช้า 8.00-12.00 น. ถ้ามีความผิดปกติ ในตอนบ่ายให้มาพบแพทย์ทันที
ข้อดี คือถ้ามีปัญหาจะสามารถให้การดูแลได้ทันท่วงที
ให้คำแนะนำ
“daily fetal movement record (DFMR)”
การนับลูกดิ้น 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1 ชั่วโมง
ถ้าน้อยกว่า 3 ครั้งต่อชั่วโมง แปลผลว่าผิดปกติ
ถ้านับต่ออีก 6-12 ชั่วโมงต่อวัน รวมจำนวนครั้งที่ดิ้นใน 12 ชั่วโมงต่อวัน
ถ้าน้อยกว่า 10 ครั้ง
ถือว่าผิดปกติ
ทารกมีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิตในครรภ์
การที่ลูกดิ้นน้อยลง
ทารกอยู่ในภาวะอันตราย มีความเสี่ยงที่จะเสียชีวิต ให้มาพบแพทย์ทันที
Electronic fetal monitoring
เป็นเครื่องมือทาง Electronic ที่ได้นำมาใช้เพื่อตรวจดูสุขภาพทารกใน
หัวตรวจ มี 2 แบบ คือ
Tocodynamometer หรือ tocometer ประเมินความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
ultrasonic transducer สำหรับฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารก
การเต้นของหัวใจทารกและคำต่างๆที่เป็นสากล
Baseline fetal heart rate ปกติ 110 – 160 ครั้ง/นาที
Tachycardia > 160 ครั้ง/นาที
Bradycardia < 110 ครั้ง/นาที
Variability
อัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลง
Absent : ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
Moderate : มีการเปลี่ยนแปลง 6 ถึง 25 beat/min
Minimal : มีการเปลี่ยนแปลง 0 ถึง 5 beat / min
Marked : มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า 25 beat/min
variability ลดลงหรือหายไป
ทารกหลับ คลอดก่อนกำหนด
ความพิการของหัวใจ หรือศรีษะ เช่น anencephaly
ทารกได้รับยากดประสาทเช่น Pethidine
มีภาวะ brain hypoxia
Periodic change มี 2 แบบ
acceleration การเพิ่มขึ้นของ FHR
อายุครรภ์ > 32 สัปดาห์ มากกว่าหรือเท่ากับ 15 bpm
นานกว่า 15 วินาที
อายุครรภ์ < 32 สัปดาห์ เพิ่มขึ้น 10 bpm
นานกว่า 10 วินาที
deceleration ซึ่งแบ่งเป็น 4 แบบ
Late deceleration
การลดลงของ FHR ไม่สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกการลดลง ถือเป็นความผิดปกติ เชื่อว่าเกิดจากทารก hypoxia
Variable deceleration
การลดลงของ FHR โดยอาจจะสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกหรือไม่ก็ได้ ไม่นานเกิน 2 นาที เกิดจากสายสะดือถูกกด พบใน prolapse cord หรือ น้ำคร่ำน้อย
Early deceleration
การลดลงของ FHR สัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก พบได้ตอนท้ายของการเจ็บครรภ์คลอด เชื่อว่าเป็น reflex เกิดจากการที่ศรีษะทารกถูกกด
Prolonged deceleration
การลดลงของ FHR นานอย่างน้อย 2 นาที แต่ไม่ถึง 10 นาที การแก้ไข : ตรวจสอบหาการพลัดต่ำของสายสะดือ
หลักการดูแลทารกที่มีการเต้นของหัวใจผิดปกติ
เพิ่ม uterine blood flow โดยการจัดท่ามารดา ให้สารน้ำทางเส้นเลือด ช่วยลดความกังวลใจให้กับมารดา
ลด uterine activity ปรับเปลี่ยนการให้ยาที่เหมาะสม จัดท่ามารดาให้สารน้ำทางเส้นเลือด และสอนวิธีการการเบ่งคลอดที่ถูกต้อง
เพิ่ม oxygen saturation โดยการจัดท่ามารดา ให้ออกซิเจนแก่มารดา และสอนวิธีการหายใจที่ถูกต้องในระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
เพิ่ม umbilical circulationโดยการจัดท่ามารดา การตรวจภายในดันส่วนนำของทารกเพื่อลดการกดสายสะดือถ้าเกิดภาวะสายสะดือย้อย
แนวทางการดูแลรักษา
ทารกมีปัญหาการเต้นหัวใจที่ผิดปกติในระหว่างเจ็บครรภ์
แก้ไขเมื่อมีภาวะ uterine hyperstimulation หยุดการให้ยา oxytocin
ให้ออกซิเจนแก่มารดาผ่านทางหน้ากากในอัตรา 8-10 ลิตร/นาที
จัดท่ามารดา โดยทั่วไปนิยมให้มารดานอนในท่าตะแคงซ้าย
ทำการประเมินการเต้นของหัวใจทารกตลอดเวลา
ลักษณะผิดปกติอย่างต่อเนื่องอยู่ควรทำการคลอดทารกภายใน 30 นาที
Non-Stress Test (NST)
ตั้งครรภ์เกินกำหนด( post term)
ทารกเติบโตช้าในครรภ์ (intra uterine growth retardation)
มารดาเป็นเบาหวาน
มารดามีประวัติความดันโลหิตสูง
มารดาเป็นโรคโลหิตจางหรือมีฮีโมโกลบินผิดปกติ
มารดามีอายุมากกว่า 35 ปี
ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
การแปลผล (NST)
Non-reactive
ผลที่ได้จากการทดสอบไม่ครบตามข้อกำหนดของ reactive NST ในระยะเวลาของการทดสอบนาน 40 นาที
Suspicious
มีการเพิ่มของอัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 2 ครั้งหรืออัตราการเพิ่มขึ้นน้อยกว่า 15 ครั้ง/นาที และอยู่สั้นกว่า 15 วินาที เมื่อมีทารกดิ้น แต่กราฟที่ได้ต้องมี long term variability ที่ดี
Reactive
มี acceleration (การเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้นของหัวใจมากกว่า 15 ครั้ง/นาที และคงอยู่นานอย่างน้อย 15 วินาที เมื่อทารกเคลื่อนไหว
มี baseline FHS ระหว่าง 120-160 ครั้ง/นาที
มี long term variability ที่ปกติ (6-25 bpm.)
ไม่มี deceleration ของการเต้นของหัวใจทารก
Uninterpretable
คุณภาพของการทดสอบไม่สามารถแปลผลได้ตามข้อกำหนด ควรทำการทดสอบซ้ำภายใน 24-48 ชั่วโมง
การพยาบาลหลังการตรวจ
Non-Stress Test (NST)
รายงานผลการตรวจให้แพทย์และผู้รับบริการทราบในกรณีที่ไม่แน่ใจผลการตรวจควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้ง
ถ้าผลการตรวจเป็น suspicious ควรตรวจซ้ำภายใน 24 ชั่วโมงหลังตรวจหรือแนะนำการตรวจ (contraction stress test : CST ) ติดตามสภาพทารกในครรภ์
ผล reactive ควรนัดหญิงตั้งครรภ์มาตรวจซ้ำอีกสัปดาห์ละ 1 ครั้ง แต่ถ้าผลเป็น non- reactive ก็ควรทำซ้ำ
Contraction Stress test ; CST
การทดสอบดูการเปลี่ยนแปลงของอัตราการเต้นของหัวใจทารก ในครรภ์ขณะที่มดลูกหดรัดตัว
คัดกรองหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงว่ามีเลือดไปเลี้ยงมดลูกและรกพอหรือไม่ ก่อนจะเจ็บครรภ์คลอด และถ้าให้ตั้งครรภ์ต่อไปทารกจะทนต่อการหดตัวของมดลูก เมื่อเจ็บครรภ์คลอดได้หรือไม่
การแปลผล
Negative : มี UC 3 ครั้งใน10 นาที โดยไม่มี late deceleration
Positive : พบ late deceleration ทุกครั้งในระยะช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูก
Suspicious : มี late deceleration แต่ไม่เกิดขึ้นทุกครั้งของการหดรัดตัวของมดลูก หรือมีการลดลงของ FHS ในช่วงท้ายของการหดรัดตัวของมดลูกร่วมกับมดลูกหดรัดตัวถี่มากเกินไป
Unsatisfactory : เส้นกราฟไม่มีคุณภาพเพียงพอ หรือ UC ไม่ดีพอ
การติดตามผล CST
Negative : ทารกอยู่ในสภาพปกติ แนะนำนับลูกดิ้นและตรวจซ้ำใน 1 สัปดาห์
Positive : ทารกพร่องออกซิเจน ช่วยเหลือโดย Intrauterine resuscitation หยุด Oxytocin ทันที จากนั้น 15-30 นาทีให้ทำ CST ซ้ำ ถ้าผล Positive
อีกครั้งควรสิ้นสุดการตั้งครรภ์
Uteroplacental insufficiency
ถ้ามีภาวะ Uteroplacental insufficiency ทารกอยู่ในภาวะไม่ปลอดภัย FHR pattern เกิด late deceleration ขึ้น
น.ส.ณิชกานต์ จันทร์ส่งแสง