Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือมารดาและ ทารกในระยะที่ 2,3 และ 4…
การประเมินภาวะสุขภาพการดูแลช่วยเหลือมารดาและ ทารกในระยะที่ 2,3 และ 4 ของการคลอด
-
การตัดและซ่อมแซมฝีเย็บ
ความหมาย การตัดฝีเย็บ คือการตัดเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อบางส่วนของช่องคลอดและฝีเย็บ เพื่อขยายทางคลอดให้กว้างขึ้น ศีรษะและไหล่ของทารกจะได้ผ่านออกมาโดยสะดวกซึ่งเนื้อเยื่อและกล้ามเนื้อที่ถูกตัด
-
-
-
ชนิดของการตัดฝีเย็บ
-
Median episiotomy
เป็นการตัดจาก posterior fourchette ลงไปตามแนวดิ่งและควรหยุดห่างจากกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักอย่างน้อย 1 ชม. เป็นวิธีที่นิยมทำ
-
-
วิธีการตัดฝีเย็บ
-
ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางของมือซ้าย (ผู้ที่ถนัดขวา) สอดระหว่างฝีเย็บและส่วนนำของทารกแล้วจึงสอดกรรไกรเข้าไปตัด
-
-
-
-
-
- การซ่อมแซมฝีเย็บ (Perineorrhaphy)
ความหมาย:เป็นการเย็บซ่อม Fascia และกล้ามเนื้อ ด้วยไหมละลาย No 2/0 - 3/0 ให้ขอบแผลเชื่อมกันเหมือนเดิม
ระดับการฉีกขาดของฝีเย็บ
-
-
-
Fourth degree tear
เป็นการฉีกขาดเช่นเดียวกับ Third degree tear และมีการฉีกขาดต่อจากกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักจนถึงผนังของ Rectum
ชนิดของการเย็บแผล
Continuous lock
วิธีเย็บคล้ายกับแบบ simple suture แต่ใช้ไหมเส้นเดียวกันเย็บตลอด
ความยาวของแผล ใช้เย็บในรายที่ต้องการให้ส่วนที่เย็บตึงมากกว่าวิธีที่ 3 เป็นการช่วยให้เลือดหยุด ใช้เย็บเยื่อบุผนังช่องคลอด
-
-
-
Subcuticular stitch
ใช้เย็บชั้นใต้ผิวหนัง เริ่มต้นจากมุมแผล แล้วใช้เข็มแทงใต้ผิวหนังเข้าไป
ห่างจากขอบอย่างน้อย 0.3 เซนติเมตร เข้าและออกในขอบแผลทั้งสองข้างที่ระดับเดียวกันจนถึงมุมแผลอีกข้าง จึงผูกปม
-
-
-
อ้างอิง
มณีภรณ์ โสมานสรณ์.(2552).การพยาบาลสูติศาสตร์เล่ม2.(พิมพ์ครั้งที่8).นนทบุรี:โครงการสวัสดิการวิชาการสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข.
-
-