Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชนกับการวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชน
1. การประเมินภาวะสุขภาพอนามัยชุมชน
(community assessment)
1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลอนามัยชุมชน ( Data collection )
1.1.2 แหล่งข้อมูลในการเก็บรวบรวมข้อมูล
แหล่งปฐมภูมิ
หมายถึง ข้อมูลที่ได้จากแหล่งของข้อมูลโดยตรง เช่น ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ การสอบถาม การสังเกต การตรวจร่างกาย การทดสอบ เป็นต้น
แหล่งทุติยภูมิ
หมายถึง ข้อมูลที่ได้มาจากแหล่งข้อมูลที่มีการบันทึกไว้แล้ว เช่น ข้อมูลจากบัตรผู้ป่วย จากรายงานการเฝ้าระวังหรือการควบคุมโรค จากรายงาน จ.ป.ฐ. แฟ้มสุขภาพครอบครัว เป็นต้น
1.1.1 ชนิดของข้อมูลที่ควรเก็บรวบรวม
ข้อมูลด้านสุขภาพอนามัย
ประกอบไปด้วย ด้านสถานภาพอนามัยของชุมชน ข้อมูลเจ้าหน้าที่สาธารณสุข สิ่งอำนวยความสะดวกด้านอนามัยองค์กรและโครงการอนามัยในชุมชน
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัย
ประกอบไปด้วย ลักษณะทั่วไปของชุมชน ประชากรในชุมชน การติดต่อสื่อสาร การคมนาคม เศรษฐกิจของชุมชน การปกครองกฎหมาย การวางแผนงานของ
ชุมชน การศึกษา การนันทนาการแบบต่างๆในชุมชน
1.1.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
2) การสัมภาษณ
3) การใช้แบบสอบถาม
1) การสังเกต
4) การทดสอบ
5) การตรวจชนิดต่างๆ
6) การสังเกตและสัมภาษณ์จากผู้นำหรือผู้รู้ในชุมชน
7) การทำแผนที่ชุมชน
8)การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้เครื่องมือในการเรียนรู้วิถีชุมชน
แผนที่เดินดิน
เป็นเครื่องมือที่จะทำให้เห็นภาพรวมของชุมชนครบถ้วนที่สุด ได้ข้อมูลมากในระยะเวลาสั้น และข้อมูลมีความน่าเชื่อถือมากที่สุด
ผังเครือญาติ
เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ในการทำความเข้าใจโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงเครือญาติอันเป็นความสัมพันธ์ที่เป็นรากฐานของครอบครัวและชุมชน
โครงสร้างองค์กรชุมชน
เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมในแง่มุมต่างๆ คือ สถาบัน องค์กร และบุคคล ทั้งเป็นแบบทางการและไม่เป็นทางการ
ระบบสุขภาพชุมชน
จะทำให้เข้าใจถึงวิธีคิด ทัศนคติและความรู้สึกนึกคิดของชุมชนเกี่ยวกับโรคหรือความเจ็บป่วยต่างๆ ตลอดจนวิธีการรักษาโรคที่มีอยู่อย่างหลากหลายในชุมชน
ปฏิทินชุมชน
เป็นการเรียนรู้วิถีชีวิตของชาวบ้านในแต่ละรอบปีรอบเดือนหรือแต่ละวันว่าชุมชนมีกิจกรรมอะไรกัน มีอะไรที่เกิดขึ้นและเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของชาวบ้านอย่างไร รวมทั้งการประกอบอาชีพ
ประวัติศาสตร์ชุมชน
เป็นการศึกษาถึงเรื่องราวความเป็นมาของชุมชนในด้านต่างๆ ทั้งทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและการเมือง
ประวัติชีวิต
เป็นการศึกษารายละเอียดชีวิตของผู้คน ช่วยสร้างความเข้าใจในเรื่องราวชีวิตของชาวบ้าน และเกิดมุมมองที่มีมิติความเป็นมนุษย์มากขึ้น
1.1.4 ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
1) ศึกษาวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมข้อมูล และลักษณะของข้อมูล
2) ศึกษาวิธีการและแหล่งในการเก็บรวบรวมข้อมูล
3) สร้างเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลตามชนิดของข้อมูลและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ต้องการ
4) กำหนดขนาดตัวอย่างและเลือกกลุ่มตัวอย่าง
6) เก็บรวบรวมข้อมูลตามแผนที่วางไว้ภายหลังการสิ้นสุดการเก็บข้อมูลในแต่ละวัน
5) การเตรียมตัวในการเก็บข้อมูล โดยผู้เก็บข้อมูลต้องศึกษาและทำความเข้าใจ วิธีการใช้เครื่องมือก่อน เตรียมเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม
1.2 การวิเคราะห์ข้อมูลและการนำเสนอข้อมูล
1.2.1 การวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analysis)
1) การบรรณาธิกรข้อมูลหรือการตรวจสอบข้อมูล
2) การแบ่งหมวดหมู่ของข้อมูล
หมวดสังคมประชากร
ประกอบไปด้วยข้อมูลลักษณะประเภทของครอบครัว โครงสร้างของประชากร อาชีพและฐานะทางเศรษฐกิจ
หมวดสถิติชีพ-สถิติอนามัย
ประกอบไปด้วยข้อมูล การเกิด การตาย
การย้ายเข้า ย้ายออก ความพิการและไร้สมรรถภาพ
หมวดอนามัยแม่และเด็ก
ประกอบไปด้วยข้อมูลการคุมกำเนิด การตั้งครรภ์การฝากครรภ์และการได้รับวัคซีน
หมวดอนามัยสิ่งแวดล้อม
ประกอบไปด้วยข้อมูลสภาพสิ่งแวดล้อมในครัวเรือน ลักษณะของบ้าน
การกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
หมวดสังคม-วัฒนธรรม
ประกอบด้วยข้อมูล พฤติกรรมการเลี้ยงดูบุตร ประเพณีความเชื่อ
หมวดความรู้เจตคติและการปฏิบัติตนเรื่องสุขภาพ
ประกอบไปด้วยข้อมูลความรู้เจตคติการปฏิบัติตนตลอดจนความเชื่อถือของคนในชุมชนเกี่ยวกับโรค/ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น
3) การแจงนับข้อมูล (Tally)
4) การคำนวณทางสถิต
1.2.2 การนำเสนอข้อมูล
1) การนำเสนอแบบบทความ (Textual presentation
)
2) การนำเสนอแบบบทความกึ่งตาราง (Semi-tabular presentation)
3) การนำเสนอข้อมูลแบบตาราง (Tabular presentation)
4) การนำเสนอด้วยกราฟ (Graphic presentation)
กราฟเส้น (Line Graph)
เป็นการนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงเวลาที่มีความต่อเนื่องของ
ข้อมูล
สโตแกรม
ใช้แสดงเฉพาะข้อมูลเชิงปริมาณที่มีการแจกแจงความถี่และมีความต่อเนื่องของข้อมูล
5) การนำเสนอด้วยแผนภูมิ(Chart presentation)
แผนภูมิแท่ง (Bar chart)
แผนภูมิกงหรือวงกลม (Pie chart)
แผนภูมิภาพ (Pictogram)
1.2.3 การแปลผลข้อมูล
2) พยายามแปลผลการวิเคราะห์ให้ชัดเจน เข้าใจง่าย
3) ต้องแปลผลให้อยู่ในขอบเขตของข้อมูลและความมุ่งหมาย
1) พิจารณาว่าตัวเลขต่างๆ หรือค่าสถิติต่างๆนั้น
แสดงถึงอะไรมีความหมายอย่างไร
4) ต้องพิจารณาว่าผลที่ได้นั้นพาดพิง หรือเกี่ยวข้องกับสิ่งใดบ้าง
1.2.4 การสรุปผลข้อมูล
เป็นการชี้บอกหรืออธิบายผลของการสำรวจชุมชนว่าลักษณะองค์ประกอบและ
โครงสร้างชุมชนนั้นเป็นอย่างไร
2. การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน (Problem Identification)
2.1 แนวคิดเกี่ยวกับการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
2.1.1 ปัญหาอนามัยชุมชน
1) สิ่งที่ทำให้กระทบกระเทือนต่อสุขภาพของคนในชุมชนโดยตรง
2) สภาวะ (Condition) อันอาจจะเป็นทางนำไปสู่ปัญหาเพราะโรคและการเสี่ยงโรคต่างก็มีผลต่อกันและกัน
2.1.2 ปัญหาอนามัยชุมชน
ปัญหาประเภทที่ต้องทำเป็นการมองปัญหาจากจุดที่ควรจะเป็น ที่เป็นวัตถุประสงค์ที่ต้องการบรรลุ (Objective to achieve) หรืออาจเรียกว่าเป้าหมายสุดท้าย (Final goal)
2.2 ขั้นตอนการวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
2.2.1 กำหนดดัชนีที่จะใช้ประเมินปัญหาอนามัยชุมชน
1) กลุ่มดัชนีชีพ
2) ดัชนีกลุ่มปัจจัยเสี่ยง
กลุ่มสิ่งแวดล้อมเสี่ยง
พิจารณาจากด้านสถานภาพของประชากร (Demographic Status)เช่น
ภาวะโภชนาการของประชากร การเปลี่ยนแปลงของประชากร และภาวะการเจริญพันธุ์เป็นต้น
กลุ่มพฤติกรรมเสี่ยง
นับเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดปัญหาอนามัยชุมชน ทั้งปัญหาด้านโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ พิจารณาจากพฤติกรรมอนามัยของบุคคลและครอบครัว (Health Behavior condition)
ดัชนีชี้วัดด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
2.2.2 การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน
1) วินิจฉัยปัญหาโดยนำข้อมูลที่วิเคราะห์ได้ตามดัชนีที่เลือกไว้มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานตามดัชนีซึ่งเป็นตัวเลขที่แสดงถึงเป้าหมายว่าต้องการให้ชุมชนมีสุขภาพอยู่ในระดับใด
2) วินิจฉัยปัญหาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม (Norminal Group Problem) โดยการให้ชุมชนหรือผู้นำชุมชนหรือประชาชนมีส่วนร่วมในตัดสินใจด้วยตนเองว่าอะไรเป็นปัญหาอนามัยชุมชน กระบวนการกลุ่มเป็นการแสดงให้เห็นถึงการรับรู้ของชุมชนต่อปัญหา (Community Perception)
2.3 การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority Setting)
2.3.1 ข้อมูลในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
3) ความรุนแรงของโรค (Virulence)
เป็นดัชนีที่แสดงถึงความรุนแรงของโรค โรคใดที่เป็นแล้วเกิดการพิการหรือตายมาก แสดงว่าโรคนั้นมีความรุนแรงของโรคมาก
4) การสูญเสียทางเศรษฐกิจ (Economic loss)
โรคใดที่เป็นแล้วทำงานไม่ได้ เสียวันทำงานมากโรคนั้นย่อมเป็นปัญหามากกว่าโรคที่เสียวันทำงานน้อย
2) ความชุกของโรค (Prevalence)
เป็นดัชนีที่แสดงถึงการรักษาและการป้องกัน ตลอดจนการบริการและสังคมสงเคราะห์อื่นๆ
5) โรคนั้นป้องกันได้ (Preventable
) เช่น การให้วัคซีนป้องกันโรค โรคที่สามารถป้องกันได้ย่อมต้องจัดความสำคัญไว้สูงกว่าโรคที่ยังไม่สามารถป้องกันได
1) อุบัติการณ์ของโรค (Incidence)
เป็นดัชนีที่แสดงถึงมาตรการการป้องกันโรคว่าดีหรือยัง ถ้า
อุบัติการณ์ของโรคสูงแสดงว่าโรคนั้นยังเป็นปัญหาของชุมชน
6) โรคนั้นรักษาให้หายได้ (Treatable)
โรคนั้นมียาหรือวิธีการจำเพาะในการรักษาหรือไม่ ถ้ามีจะได้รับการจัดลำดับความสำคัญไว้สูงกว่าโรคที่ยังไม่มีวิธีการรักษาจำเพาะ
7) ทรัพยากรทางด้านสาธารณสุขและอื่นๆ (Health and resources)
หมายถึง บุคลากร เงิน วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์และเทคโนโลยีต่างๆที่ใช้ในการแก้ปัญหาสาธารณสุขในชุมชน
8) ความเกี่ยวข้องและความร่วมมือของชุมชน (Community concern and participation)
หมายถึง ความตระหนักของชุมชนและความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้น
2.3.2 ขั้นตอนในการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ความยากง่ายในการแก้ปัญหา (Feasibility)
หมายถึง ความเป็นไปได้ในการวางแผนงาน/
โครงการ และการกำหนดแนวทางในการดำเนินการแก้ไขปัญหา
ความร่วมมือของชุมชน (Community concern)
หมายถึง ประชาชนส่วนใหญ่เห็นว่าปัญหา
ที่เกิดขึ้นมีความสำคัญหรือไม่ มีความตระหนัก ยอมรับ เพื่อจะแก้ไขโดยรีบด่วนหรือไม่
ความรุนแรงของปัญหา (Severity or Seriousness of problem)
หมายถึง ปัญหาที่ต้อง
แก้ไขอย่างเร่งด่วน
ความเสียหายในอนาคต (Loss of Future)
หมายถึง ปัญหาที่เกิดเป็นปัญหาที่สามารถ
คาดการณ์ล่วงหน้าได้อย่างแน่นอนว่า
ขนาดของปัญหา (Size or Magnitude of problem
) หมายถึง จำนวนประชากรของชุมชน
ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหา โดยทั่วไปจะพิจารณาจากอัตราป่วย (อัตราอุบัติการณ์หรืออัตราความชุก) และอัตราตาย
วิธีของกระบวนการกลุ่ม (Norminal Group Process )
การนำกระบวนการกลุ่มมาใช้ในการจัดลำดับ
ความสำคัญของปัญหา ก็เพื่อให้ประชาชนตัดสินใจเลือกแก้ปัญหาด้วยตนเอง
2.4 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Problem Analysis)
2.4.1 ศึกษาธรรมชาติของการเกิดปัญหา
Host – Agent - Environment ตั้งแต่ก่อนการเกิดปัญหา ขณะเกิดปัญหาและหลังการเกิดปัญหาว่าลักษณะ การดำเนินไปของปัญหาเป็นอย่างไร
2.4.2 สร้างโยงใยแห่งสาเหตุของปัญหา
ปัจจัยนำ (Predisposing Factors)
ปัจจัยเอื้อ
(Enabling Factors)
ปัจจัยเสริม (Reinforceing Factors)
2.4.3 ตัด (Exclude)
ปัจจัยบางตัวโดยใช้ข้อมูลที่มีอยู่ ในกรณีที่ข้อมูลนั้นเชื่อถือได้เช่น ถ้าพบว่าปัจจัยของการไม่มีส้วมใช้เป็นสาเหตุของปัญหา
2.4.4 ตัด (Exclude)
ปัจจัยบางตัวโดยใช้วิทยาการระบาดเชิงบรรยาย โดยการจำแนกอุบัติการณ์หรือความชุกของโรคออกตามลักษณะของบุคคล สถานที่ เวลา จะเป็นการระบุกลุ่มที่มีปัญหา (กลุ่มเป้าหมาย)
2.4.5 ยืนยันปัจจัยเหตุที่เหลือ
การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย การสังเกตพฤติกรรมสุขภาพ
2.4.6 ตัด (Exclude)
วิธีการศึกษาย้อนหาสาเหตุของโรค(Retrospective study or case – control study)
2.5 การวินิจฉัยสาเหตุและแนวทางในการแก้ปัญหา
2.สถานที่
การเกิดโรคมีลักษณะการแพร่กระจายแตกต่างกันไปอย่างไรตามพื้นที่ หรือที่อยู่อาศัยของคนในชุมชน จุดที่พบโรคเป็นแห่งแรกอยู่ ณ ที่ใด และโรคพบชุกชุมบริเวณใด
3.เวลา
ลักษณะการเดโรคที่ผันแปรแตกต่างกันไปมากหรือน้อยตามระยะเวลา
1.บุคคล
ต้องสามารถระบุให้ได้ว่า โรคที่พบเกิดขึ้นกับกลุ่มเสี่ยงกลุ่มใด
2.6 โยงใยสาเหตุของปัญหา (Web of Causation)
1.ให้ทบทวนธรรมชาติในการเกิดโรค
Host Agent และ Environment
2. สร้างโยงใยสาเหตุของปัญหา Web of Causation
โยงด้วยลูกศรตามผลที่ย่อมเกิดจากเหตุ
3. ข้อมูลที่นำมาเขียนโยงใยสาเหตุของปัญหา
3. การวางแผนเพื่อแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน (community planning)
ปัจจัยที่ใช้ในการวางแผนแก้ไขปัญหา
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องที่สามารถนามาใช้ประกอบการวางแผนให้รัดกุมเหมาะสม
ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาจากชุมชน
นโยบายหรือข้อกำหนดที่หน่วยงานระบุไว้
ขั้นตอนการวางแผนงานอนามัยชุมชน
ทบทวนปัจจัยที่จะนำมาใช้วำงแผน
ศึกษาปัญหาและรวบรวมข้อมูลสนับสนุนปัญหา
กำหนดวัตถุประสงค์ของแผน
กำหนดกลวิธีและกิจกรรมในกำรแก้ไขปัญหา
กำหนดบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่จะมำร่วมรับผิดชอบ
กำหนดทรัพยำกรและงบประมำณที่จะใช้
กำหนดกำรใช้เทคโนโลยีที่เหมำะสมกับทรัพยากรที่มีอยู่
กาหนดแนวทางการประเมินติดตามผล
กาหนดระยะเวลาการทางาน
เขียนแผนโดยให้มีองค์ประกอบของแผนอยู่ครบถ้วน
เสนอแผนเพื่อพิจารณาอนุมัติการใช้แผน
ทาการแก้ไขตรวจสอบและปรับปรุงแผนให้เรียบร้อยตามแนวทางการพิจารณา
ประกาศใช้แผน
การจัดทำแผนแก้ไขปัญหา
แผนงานหลักหรือแผนแม่บท
ปัญหาสาธารณสุข
การวิเคราะห์ปัญหา
วัตถุประสงค์
เป้าหมาย
ทรัพยากร
กำรประเมินผล
แผนงำนย่อยหรือแผนปฏิบัติกำร
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
กิจกรรม
ผลที่ต้องกำร
ผู้รับผิดชอบ
การประเมินผล
งบประมำณ
การเขียนโครงการ
ชื่อโครงการ
ควรสั้น กะทัดรัด เข้าใจง่าย และสื่อความหมาย ที่ชัดเจน
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ระบุหน่วยงานต้นสังกัด ที่จัดทำโครงการ
หลักการและเหตุผล
ใช้ข้อมูลจากการเก็บข้อมูล จากการทา We b of causation causation จากผลการวิเคราะห์ KAP
วัตถุประสงค์
สอดคล้องกับความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
เป้าหมาย
แสดงให้เห็นผลงานหรือผลลัพธ์ที่เป็นเชิงคุณภาพ หรือปริมาณที่คาดว่าจะทำให้เกิดขึ้น ในระยะเวลาที่กำหนด
แผนการดาเนินงาน
เขียนเป็นขั้นตอนการดำเนินงานตามหลัก PDCA
งบประมาณ
ควรแจกแจงตามระยะเวลาของการดำเนินงานโครงการและตาม ประเภทของกิจกรรม
การประเมินผล
เป็นการคาดการณ์ถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นที่เป็นประโยชน์เมื่อโครงการสิ้นสุดลง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เป็นการคาดการณ์ถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นที่เป็นประโยชน์เมื่อโครงการสิ้นสุดลง
ผู้รับผิดชอบโครงการ
4. การปฏิบัติตามแผนงานอนามัยชุมชน (community implementation)
1. ขั้นเตรียมการ
เตรียมตัวพยาบาลอนามัยชุมชน
เตรียมผู้รับบริการ ผู้รับบริการ/กลุ่มเป้าหมาย
เตรียมทรัพยากร/อุปกรณ์
-กำหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ
-ประชุมมอบหมาย
-จัดระบบข้อมูล / เตรียมเอกสารที่จำเป็นไว้ล่วงหน้า
-ติดต่อวิทยากร
-ติดต่อขอใช้สถานที่
-ตรวจสอบความพร้อมของทรัพยากรและงบประมาณ
2. ขั้นดำเนินการ
พิจารณาว่าต้องทำอะไรบ้าง ทำอย่างไร ใครเป็นใครเป็น
ผู้รับผิดชอบกิจกรรมนั้นๆ (เขียนเป็ น Gantt's Chart)
ติดตาม นิเทศและควบคุมงานตามสายงาน
3.การแก้ปัญหาสุขภาพชุมชุนโดยยึดหลักพัฒนาชุมชน
1.ยึดถือประชาชนเป็นหลัก
2.ยึดทรัพยากรของชาวบ้านเป็นหลัก
3.ยึดหลักประชาธิปไตยในการทำงาน
4.ยึดหลักการปกครอง
5.ยึดหลักการประสานงาน
6.การเปลี่ยนแปลงหรือดำเนินงานพัฒนาชุมชนต้องเริ่มจากสิ่งง่ายๆ
7.การเปลี่ยนแปลงใดๆของชาวบ้านเราต้องคำนึงสิ่งง่ายในชีวิต
8.ยึดถือวัฒนธรรมเป็นหลัก
การพัฒนาชุมชน(Community Development)
แนวคิดในการพัฒนาชุมชน
4.ความสมดุลในการพัฒนา
3.ความคิดริเริ่มของชุมชน
การร่วมมือระหว่างรัฐและประชาชน
การช่วยเหลือตนเอง
ชุมชนซึ่งอาศัยอยู่ร่วมกันมีความเจริญก้าวหน้าเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น
5. การประเมินผลการดำเนินงานอนามัยชุมชน (community evaluation
)
หลักการประเมินผล
ต้องทราบว่าจะประเมินเรื่องอะไร
เรื่องที่ประเมินมีเครื่องชี้วัดอะไรบ้าง
การประเมินผลจะกระทำ ในระดับใดเช่นหมู่บ้าน ตำบล อำเภอ
เป้ าหมายในการประเมินคืออะไร
ลักษณะการประเมิน 3 ลักษณะ
การประเมินผลก่อนการปฏิบัติงาน (Pre –evaluation)
การประเมินผลในระหว่างการปฏิบัติงาน (On – going evaluation)
การประเมินผลหลังการปฏิบัติงาน (End –of – project evaluation)
รูปแบบการประเมินโครงการ
1.การประเมินผลเป้าประสงค์
การประเมินโดยใช้รูปแบบวิเคราะห์
CIPP model
การประเมินโดยรูปแบบการวิจัย
องค์ประกอบการประเมินผลโครงการ
การประเมินประสิทธิภาพ (Evaluation of efficiency)
เป็นการเปรียบเทียบผลกับความพยายามที่จะทำได้สำเร็จด้านเทคนิค และค่าใช้จ่าย
การประเมินประสิทธิผล (Evaluation of effectiveness)
ความเพียงพอและความเหมาะสม (Evaluation of appropriateness)
ผลกระทบหรือผลข้างเคียง (Evaluation of side-effect)
ความก้าวหน้า (Progress)
ขั้นตอนการประเมินโครงการ
1.กำหนดจุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ของการประเมิน
2.กำหนดรูปแบบและวิธีการประเมิน
3.สร้างเครื่องมือในการประเมิน
4.การกำหนดกลุ่มเป้าหมายและขนาดของกลุ่มตัวอย่าง
5.ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล
6.วิเคราะห์ข้อมูล
7.จัดทำรายงานและนำเสนอผลการประเมิน