Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ …
บทที่ 3 การเตรียมและช่วยเหลือมารดาทารกที่ได้รับการตรวจด้วยเครื่องมือพิเศษ
3.2 Biophysical Assessment
Ultrasound คือ การใช้คลื่นเสียงที่มีความถี่สูง
ผ่านผิวหนังเข้าไปเนื้อเยื่อที่ต้องการตรวจดูขนาด ขอบเขต รูปร่าง การเคลื่อนไหวของอวัยวะ
แนวทางการตรวจ ultrasound
ดูจํานวนและการมีชีวิตของทารก
ดูลักษณะและตําแหน่งของรก
ปริมาณนํ้าครํ่า
ประเมินอายุครรภ์และการเจริญเติบโตของทารก
ตรวจ 4- chamber view ของหัวใจทารก
ตรวจลักษณะทางกายวิภาคของทารก
ข้อบ่งชี้ Ultrasound ด้านมารดา
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ในระยะเริ่มแรก
ใช้วินิจฉัยการตั้งครรภ์ที่มีความผิดปกติ
ตรวจดูภาวะแฝดนํ้า / นํ้าครํ่าน้อย
ตรวจดูตําแหน่งที่รกเกาะ
ข้อบ่งชี้ Ultrasound ด้านทารก
ดูการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์หรือคาดคะเนอายุครรภ์
ตรวจดูความผิดปกติของทารกในครรภ์
เพื่อวินิจฉัยภาวะทารกตายในครรภ์
เพื่อดู lie position และส่วนนําของทารกในครรภ์
เพื่อตรวจดูจํานวนของทารกในครรภ์
การแปลผล Ultrasound
(Gestational Sac : GS)
อายุครรภ์ 5 -7 week ถุงที่หุ้มทารกไว้ซึ่งจะเห็น
ได้ในระยะแรกของการตั้งครรภ์ใช้ยืนยันการตั้งครรภ์ ใช้ในการหาอายุครรภ์โดยวัด
เส้นผ่าศูนย์กลางของถุงการตั้งครรภ์ทั้ง 3 แนวคือ กว้าง ยาวสูง
(Crown-rump lerght : CRL)
อายุครรภ์ 7-14 week คือ ความยาวตั้งแต่
ศีรษะถึงส่วนล่างสุดของกระดูก ไขสันหลัง ซึ่งมีความแม่นยํามาก คลาดเคลื่อนเพียง 3 - 7 วัน
Biparietal diameter : BPD
เส้นผ่าศูนย์กลางของส่วนที่ยาวที่สุดของศีรษะ
ของทารก เป็นตัววัดที่นิยมมากที่สุด อาศัยจุด
สัมพัทธ์ คือ เป็นระดับ BPD ที่กว้างที่สุดคํานวณจะแม่นยําสุด คือ ช่วง 14 - 26 สัปดาห์
(Femur length : FL)
วัดจากส่วนหัวกระดูก-ปลายแหลมของปลาย
กระดูก ควรวัดก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์
(Abdominal circumference : Ac)
วัดยาก ไม่ค่อยนิยม เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงของหน้าท้องจากสาเหตุบางอย่างเช่น ทารกโตกว่าอายุครรภ์หรือเล็กกว่าอายุครรภ์,ทารกมีตับ หรือม้ามโต
Fetal Biophysical profile (BPP)
คือ การประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ โดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจวัดการเคลื่อนไหวของอวัยวะต่างๆของทารกที่ถูกกระตุ้นและควบคุมด้วยระบบประสาทส่วนกลาง
วิธีการตรวจ
เตรียมหญิงตั้งครรภ์ในท่านอน Semi-fowler
ตะแคงซ้ายเล็กน้อย
ใช้ Ultrasound ตรวจวัดข้อมูล 5 ตัวแปรที่
ต้องการ
กําหนดคำคะแนนของแต่ละข้อมูล ข้อละ 2 คะแนน
เมื่อพบว่าปกติให้ 2 คะแนน และให้ 0 คะแนนเมื่อ
พบว่าผิดปกติ
การแปลผล
คะแนน 8-10 คะแนน แสดงว่า ปกติไม่มีภาวะ
เสี่ยงควรตรวจซํ้าใน 1 สัปดาห์
คะแนน 6 คะแนน แสดงว่ามีภาวะเสี่ยงต่อการ
ขาดภาวะออกซิเจนเรื้อรังของทารก ควรตรวจ
ซํ้าใน 4-6 ชั่วโมง
คะแนน 4 คะแนน แสดงว่า มีภาวะขาด
ออกซิเจนเรื้อรัง
คะแนน 0-2 คะแนน แสดงว่า มีภาวะขาด
ออกซิเจนเรื้อรังอย่างรุนแรงควรให้มีการคลอดโดยเร็ว
วิธีนับลูกดิ้น
Count to ten
คือ การนับการดิ้นของทารกในครรภ์ให้ครบ
10 ครั้ง ในช่วงเวลา 2 ชั่วโมงต่อกันถ้านับลูก
ดิ้นไม่ถึง 10 ครั้ง แปลผลว่า ผิดปกติ
Cardiff count to ten
คือ นับจํานวนเด็กดิ้นจนครบ 10 ครั้ง ในเวลา 4
ชั่วโมง ซึ่งนิยมให้นับในช่วงเช้า 8.00-12.00 น. ถ้า
มีความผิดปกติในตอนบ่ายให้มาพบแพทย์ทันที
daily fetal movement record (DFMR)
คือ การนับลูกดิ้น 3 เวลาหลังมื้ออาหาร ครั้งละ 1
ชั่วโมง ถ้าน้อยกว่า 3 ครั้งต่อชั่วโมง แปลผลว่าผิดปกติ
3.3 Electronic Fetal monitoring
เป็นเครื่องมือทาง Electronic ที่ได้นํามาใช้เพื่อ
ตรวจดูสุขภาพทารก
เครื่องมือ หัวตรวจ มี 2 แบบ
Tocodynamometer หรือ tocomete
จะเป็นส่วนที่วางอยู่บนหน้าท้องมารดาบริเวณยอดมดลูกเพื่อ
ประเมินความรุนแรงของการหดรัดตัวของมดลูก
ultrasonic transduce
สําหรับฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกจะเป็นส่วนที่วางอยู่บนหน้าท้องบริเวณหัวใจทารก
การเต้นของหัวใจทารก
Baseline fetal heart rate
ปกติ110 – 160 ครั้ง/นาที
Variability
คือ อัตราการเต้นของหัวใจทารกที่มีการเปลี่ยนแปลง
Absent : ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง
Moderate : มีการเปลี่ยนแปลง 6 ถึง 25 beat/min
Minimal : มีการเปลี่ยนแปลง 0 ถึง 5 beat / min
Marked : มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า 25 beat/min
Periodic change มี 2 แบบ
acceleration การเพิ่มขึ้นของ FHR
deceleration ซึ่งแบ่งเป็น 4 แบบ คือ
Late deceleration
Variable deceleration
Early deceleration
Prolonged deceleration
acceleration
หลักการดูแลทารกที่มีการเต้นของหัวใจผิดปกติ
เพิ่ม uterine blood flow โดยการจัดท่ามารดา ให้สารนํ้าทางเส้นเลือดช่วยลดความกังวลใจให้กับมารดา
เพิ่ม umbilical circulationโดยการจัดท่ามารดา การ
ตรวจภายในดันส่วนนําของทารกเพื่อลดการกดสาย
สะดือถ้าเกิดภาวะสายสะดือย้อย
เพิ่ม oxygen saturation โดยการจัดท่ามารดา
ให้ออกซิเจนแก่มารดาและสอนวิธีการหายใจที่ถูก
ต้องในระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
ลด uterine activity โดยปรับเปลี่ยนการให้ยาที่เหมาะสม
Non-Stress Test (NST)
ตั้งครรภ์เกินกําหนด( post term)
มารดาเป็นเบาหวาน
ทารกเติบโตช้าในครรภ์
มารดามีประวัติความดันโลหิตสูง
มารดามีอายุมากกว่า 35 ปี
การแปลผล (NST)
Reactive
Non-reactive
Suspicious
Uninterpretable
Contraction Stress test ; CST
การทดสอบดูการเปลี่ยนแปลงของอัตราการ
เต้นของหัวใจทารก ในครรภ์ขณะที่มดลูกหดรัดตัว
Uteroplacental insufficiency
ปกติทารกจะสามารถปรับตัวได้แสดงออกโดยมี
การเปลี่ยนแปลง FHR pattern ไม่เกิด late deceleration
การแปลผล
Negative
Positive
Suspicious