Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormality of passage - Coggle Diagram
Abnormality of passage
ความผิดปกติของช่องเชิงกรานแท้ (Abnormality of true pelvis)
1.ช่องเชิงกรานแคบ (Pelvic contraction)
เชิงกรานแคบทีช่องเข้า (Inlet contraction) คือเส้นผ่านศูนย์กลางช่องเข้าตามแนวหน้า-หลัง น้อยกว่า 10 ซม หรือ ช่องขวางน้อยกว่า 12 ซม
ผลกระทบ
เกิดการคลอดยาวนานคลอดยาก หรือการคลอดหยุดชะงักทั้งในระยะที 1 2 3 ของการคลอด
ต่อการดําเนินการคลอด
ทารกผ่านช่องเชิงกรานได้ยากหรือไม่ได้เลย
ปากมดลูกเปดขยายล่าช้า เพราะส่วนนําไม่ได้กดกระชับกับปากมดลูกและมดลูกส่วนล่าง
ทารกมักมีส่วนนําผิดปกติ เช่น ท่าก้น ท่าไหล่
ต่อผู้คลอดและทารก
ส่วนนํากดทางช่องคลอดเปนเวลานาน ส่งผลให้ขาดเลือดมาเลียง เกิดเปนเนือตาย ส่งผลให้เกิด fistula ตามมา
ถุงนาแตกก่อนกําต้นหรือแตกในระยะต้นๆ
มดลูกแตก (Uterine rupture)
ผู้คลอดเหนือย ออ่นเพลีย ขาดนา เลือดเปนกรด เกิดความกลัว วิตกกังวล
ทารกในครรภ์เกิดภาวะ Fetal dรstress เนืองจากการคลอดยาวนาน
ทารกมี molding มากกว่าปกติ เนืองจากช่องเข้าเชิงกรานแคบและมีแรงดันในโพรงมดลูกมาก อาจทําให้เกิดการฉีกขากของเยือหุ้มสมอง
ทารกเกิด caput succrdaneum, cephalhematoma ได้สูงเนืองจากศีรษะกดช่องคลอดเปนเวลานาน ทําให้การไหลเวียนเลือดไม่ดี มีเลือกคังเกิดเปนก้อน
ทารกเกอดเนือตายของหนังศีรษะ scalp necrosis
การดูแลรักษา
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ผู้คลอดทีส่วนนํากับช่องเชิงกรานผิดสัดส่วนไม่มาก
อาจพิจารณาให้ทดลองคลอดทางหน้าท้องก่อน
หากไม่ก้าวหน้าควรผ่าตัดทางหน้าท้อง
ผู้คลอดทีผ่านการคลอดคล้ายครังแล้ว
เฝ้าระวังอาการแสดงของมดลูกแตก
ถ้าพบ Bandl's ring ให้รบรายงานแพทย์
งดให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ผู้คลอดทีทารกในครรภ์อยู่ในม่าผิดปกติ ในเตรียมผ่าตัดทางหน้าท้อง
เชิงกรานแคบทีช่องภายใน (Midpelvic contraction) คือระยะระหว่างปุม ischial spine ทังสองข้าง แคบกว่า 9.5 ซม
ผลกระทบ
ต่อการดําเนินการคลอด
ศีรษะทารกเคลือนตาช้าหรือเคลือนตาผ่าน ischail spine ไม่ได้เลย
การหมุนภายในของศีรษะทารกถูกขัดขวาง
การหดรัดตัวของมดลูกไม่มีประสิทธิภา
ต่อผู้คลอดและทารก
คล้ายกับผลกระทบของเชิงกรานแคบช่องเข้า
ต่อผู้คลอดและทารก
ส่วนนํากดทางช่องคลอดเปนเวลานาน ส่งผลให้ขาดเลือดมาเลียง เกิดเปนเนือตาย ส่งผลให้เกิด fistula ตามมา
ถุงน้ำแตกก่อนกําต้นหรือแตกในระยะต้นๆ
มดลูกแตก (Uterine rupture)
ผู้คลอดเหนือย อ่อนเพลีย ขาดนา เลือดเปนกรด เกิดความกลัว วิตกกังวล
ทารกในครรภ์เกิดภาวะ Fetal dรstress เนืองจากการคลอดยาวนาน
ทารกมี molding มากกว่าปกติ เนืองจากช่องเข้าเชิงกรานแคบและมีแรงดันในโพรงมดลูกมาก อาจทําให้เกิดการฉีกขากของเยือหุ้มสมอง
ทารกเกิด caput succrdaneum, cephalhematoma ได้สูงเนืองจากศีรษะกดช่องคลอดเปนเวลานาน ทําให้การไหลเวียนเลือดไม่ดี มีเลือกคังเกิดเปนก้อน
ทารกเกอดเนือตายของหนังศีรษะ scalp necrosis
การดูแลรักษา
ส่งเสริมให้ผู้คลอดใช้แรงเบ่งจากการหดรัดตัวของมดลูกตามธรรมชาติ
ในรายทีส่วนนําผ่านลงมาแล้ว แพทย์ช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตร์
หัตถการ มักใช้เครืองดูดสูญญากาศช่วยดึงศีรษะทารกออกมา
ในรายทีส่วนนําไม่สามารถเคลือผ่าน ischial spine ลงมาได้
ให้ผ่านตัดคลอดทางหน้าท้อง
เชิงกรานแคบทีช่องออก (Outlet contraction) คือระยะระหว่าง ischial tuberosity น้อยกว่า 8 ซม
ผลกระทบ
การคลอดศีรษะยาก ภายหลังจากส่วนทีกว้างทีสุด
ของศีรษะทารกเคลือนผ่าน ischial spine ลงมาแล้ว
การคลอดไหล่ยาก
ฝีเย็บฉีกขาดและยืดขยายมาก
ผู้คลอดอาจถูกทําสูติศาสตร์หัตถการ
เช่น การผ่าตัดทางหน้าท้อง
การดูแลรักษา
ควรตัดฝีเย็บให้กว้างพอเพือผ้องกันการฉีกขาด เพราะในรายทีช่องช่องแคบมักทําให้ฝีเย็บฉีกขาดได้มาก ขึ้น
เชิงกรานแคบทุกส่วน (Generally contracted pelvis) คือเชิงกรานแคบทังช่องเข้า ช่องภายใน และช่องออก
ผลกระทบ
มีผลกระทบต่อทุกระยะของการคลอด จะทําให้เกิดการคลอดติดขัดส่วนนําขอ งทารกไม่สามารถเข้าสู่ช่องเชิงกรานได้
2.เชิงกรานแตกหรือหัก (Pelvic fracture
ผลกระทบ
การมีกระดูกหักทําให้มีผลต่อการ คลอดทางช่องคลอดไม่ได้ ต้องผ่านตัดทางหน้าท้อง
เมือกระดูกหักจะมีกระดูกใหม่งอก และหนาตัวขึน หรืออาจเชือมต่อกันแล้วไม่เข้ารูป ตามเดิม จึงมีรูปร่างผิดปกติไป
3.เชิงกรานรูปร่างผิดปกติ ผิดสัดส่วน หรือพิการ (Pelvic abnormalities)
ผลกระทบ
ทําให้ผู้คลอดไม่สามารถค ลอดทางช่องคลอดได้ ต้องผ่าตัดทางหน้าท้อง
มักเปนแต่กําเนิด หรือพบหลังจากขาดสารอาหารบา งอย่าง
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สั ดส่วนกับช่องเชิงกราน (Cephalopelvicdidispr oportion:CPD)
True disproportion คือ ทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกรานอย่างแท้จริง ทารกมีศีรษะเปน่ส่วนนํา มีท้ายทอยอนู่ด้านหน้าแต่ไม่สามารถคลอดออกมาได้ 2. Relative disproportion คือ ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกรานแบบสัมพัทธ์ ทารกมีส่วนนํา ทรงและท่าผิดปกติ ทําให้ไม่สามารถคลอดออกมาได้
สาเหตุ
มักเกิดจากความผิดปกติของช่องเ ชิงกรานทุกชนิด หรือความผิดปกติของทารก เช่น ทารกตัวใหญ่ ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
ผลกระทบ
1.คลอดยาก คลอดยาวนาน คลอดหยุดชะงัก หรือคลอดติดขัด
ผู้คลอดเหนือย อ่อนเพลีย ขาดนา เนืองจากการคลอดยาวนาน
มดลูกแตก เนือจากการคลอดติดขัดซึงมีแรงดันในโพรงมดลูก
ภาวะสายสะดือพลัดตาเนืองจากส่วนนําของทารกไม่สามารถเคลือตาลงได้
ช่องทางคลอดฉีกขาดเนืองจากศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอด
การพยาบาล
ประเมินมารดาเกียวกับ 1.1 PR >90 bpm. BP <90/60 mmHg. RR >24 bpm. อาจแสดงถึงภาวะตกเลือด รายงานแพทย์ให้การช่วยเหลือทันที 1.2 สภาพร่างกายของมารดา เช่น เหนือย อ่อนเพลีย เจ็บปวด 1.3 ความสูงของยอดมดลูก เส้นรอบท้อง >40 ซม รายงานแพทย์ 1.4 การหดรัดตัวของมดลูก มักพบมดลูกหดรัดตัวถี รุนแรงและนานขึน 1.5 สภาพจิตใจของมารดา ความวิตกกังวล ความหวาดกลัว 1.6 ประวัติในครรภ์ก่อน 1.7 ลักษณะของช่องเชิงกราน ทังช่องเข้า ช่องภายใน และช่องออก 2. ประเมินเกียวกับขนาด ส่วนนํา การเข้าสู่ช่องเชิงกราน ท่าและทรงของทารกในครรภ์ การเคลือนตา การก้ม การกมุนของทารก และFHS 3. ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด เกียวกับการเปดขยายของปาดมดลูก การเคลือนตา 4. ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดด้วย WHO partograph โดยบันทึกข้อมูลอย่างถูกต้อง
ความผิดปกติของเชิงกรานส่วนทีเป็นกล้ามเนือ และเอ็น (Abnormality of soft passage)
ปากช่องคลอดและฝเย็บผิดปกติ เช่น การตีบตัน แข็งไม่ยืดหยุ่น มีเลือดคัง
ช่องคลอดผิดปกติ คือ การตีบแคบมาตังแต่กําเนิดหรือภายหลัง เช่น การมีผังผืด
ปากมดลูกผิดปกติ คือ ตีบแข็ง เคยมีการฉีกขาด
ปากมดลูกบวม มักเกิดจาดส่วนนําเคลือนตาลงมากดทับกับปากมดลูก หรือระยะเบ่งคลอด หรือรยาทีถุงนาแตกก่อนนกําหนด
มะเร็งปากมดลูก มักทําให้การเปดขยายของปากมดลูกล่าช้ากว่าปกติ
มดลูกอยู่ผิดที (Uterine displacement)
6.1 มดลูควาหน้า (anteflexion)
6.2 มดลูกควาหลัง (retroflexion)
เนื้องอก
7.1 Myoma uteri มักทําให้เกิดการแท้ง การคลอดก่อนกําหนด รกลอกตัวก่อนกําหนด
7.2 Benign ovarian tumor ทําให้ขัดขวางการเคลือตาของทารก
การพยาบาล
ประเมินสภาพมารดา ทารก และความก้าวหน้าของการคลอด เพือค้หาความผิดปกติของช่องทางคลอด 2. ซักประวัติเกียวกับ การเจริญพันธุ์ การมีระดู การมรเพศสัมพันธ์ ประวัติการคลอด การใช้สูติศาสตร์หัตถการในการช่วยคลอด 3. ตรวจร่างกานทัวป สัญญาณชีพ 4. ตรวจอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก รูปร่าง ลักษณะ สี ก้อนหรือสิงผิดปกติ 5. การตรวจภายใน เกียวกับลักษณะช่องเชิงกราน ช่องทางคลอด ผนังช่องคลอด ปาดมดลูก มดลูก หรือก้อนสิงผิดปกติ
การดูแลรักษา
ในรายทีมีความผิดปกติของ 1.1 ปากช่องคลอดตีบจากรอยแผลควรตัดฝเย็บช่วยขณะคลอด 1.2 ผีเย็บแข็งตึงควรเย็บให้กว้างพอเพือปองกันการฉีกขาดเพิม 1.3 ปากช่องคลอดบวมหรือเลือดคังควรผ่านตัดระบายเลือดออกแล้ให้ยาปฏิชีวนะ ปากช่องคลอด 2. ในรายทีมีความผิดปกติของ 2.1 ช่องคลอดตีบแต่กําเนิด สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ 2.2 การมีผนังกันในช่องคลอด ในนรายทีไม่มาจะฉีกขาดเองได้แต่หามากจะต้องทําการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง 2.3 มีถุงนาหรือเนืองอก ควรเจาะถุงนาออกจะช่วยคลอดได้ง่ายขึน กรณีมีเนืองอกขนาดใหญ่มักไม่ทําอะไรจนกว่าจะคลอด ช่องคลอด 3. ในรายทีมีควมผิดปกติกของ 3.1 ปากมดลูกตีบ ระยะคลอดจะนุ่มลงหากยังเหนียวให้ผ่านตัดคลอด 3.2ปากมดลูกแข็ง ช่วยใช้นิวมือใส่เข้าไปในรูช่วยขยายปากมดลูก หากไมได้ผลจะต้องผ่าตัดคลอด 3.3 ปากมดลูกด้านหน้าบวม มักเกิดจากการกดทับของส่วนนํา ควรจัดผู้คลอดนอนตะแคง ปากมดลูก 4. ในรายทีมีควมผิดปกติของ 4.1 มดลูกควาหน้า ใช้ผ้ารัดหน้าท้องเพือประคองให้มดลูกอยู่ในตําแหน่งปกติ 4.2 มดลูกควาหลัง มักคลอดทางช่องคลอดเองไม่ได้ ค4.วรผ่านตัดคลอด 4.3 เนืองอกในมดลูกมักทําให้แท้งก่อนกําหนด มดลูก 5. ในรายทีมีความผิดปกติของ ไ้ดแก่ เนืองอกรังไข่ ต้องทําผ่านตัดคลอดทางหน้าท้องและตัดก้อนเนืองอกออก