Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ(2), น.ส.ธัญญลักษณ์ พรมีสุข …
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ(2)
Gastroschisis
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้อง พัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การพยาบาล
ก่อนการผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาด หมาดๆ ไม่รัด ลำไส้ส่วนที่สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ
หลังผ่าตัด
Respiratory distress
Hypothermia
Hypoglycemia, Hypocalcemia
General care
Fluid and nutrition support
Antibiotic prophylaxis
Wound care
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารก จะพบถุงสีขาวขุ่นบาง ขนาดต่างๆกัน สามารถมองเห็นขดลำไส้หรือตับ ผ่านผนังถุงอาจมีส่วนของถุงบรรจุ wharton’s jelly
สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง ขนาดที่พบตั้งแต่ 4 – 10 cm
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
การรักษา
1.การผ่าตัด 2.เคมีบำบัด 3.รังสีรักษา
จุดมุ่งหมาย “ การตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด ป้องกันการแพร่กระจายของโรค ”
การพยาบาล
ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัดและปวดหลอน (Phantom pain) บริเวณแขน/ขา ที่ถูกตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูกที่ทำการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบำบัดและรังสีรักษา
มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค และการรักษาพยาบาล
อาการ
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน้ำหนักไม่ได้ มักมีประวัติการเกิดอุบัติเหตุ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
อาการ
เด็ก 1 ขวบแรก
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกแบนราบลง หรือกะโหลกนิ่ม หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง
เด็กหลัง 1 ขวบ
จะพบความผิดรูปมากขึ้น พบขาโก่ง ขาฉิ่ง กระดูกสันหลังคดหรือหลังค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด อาจเกิดกระดูกหักได้
เด็กเล็ก
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
สาเหตุ
ความผดิปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผดิปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
โรคไตบางชนิด ทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
ภาวะฟอสเฟตต่ำ (Hypophosphatasia)
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน – 3 ปี เกิดความผิดปกติของเนื้อกระดูก ทำให้กระดูกหักง่าย ผิดรูปมีผลต่อพัฒนาการเด็ก
การรักษา
แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
ข้ออักเสบติดเชื้อ (Septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง ส่วนใหญ่เป็นเชื้อแบคทีเรีย
ลักษณะทางคลินิก
มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของ การติดเชื้อ มักเป็นที่ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า ข้อศอก ข้อไหล่ ข้อมือ ข้อนิ้ว
การรักษา
การใหย้าปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage
เพื่อระบายหนอง หยุดยั้งการทeลายข้อ
และเพื่อได้หนองและชิ้นเนื้อในการส่งตรวจ
ภาวะแทรกซ้อน
1.Growth plate ถูกทำลาย ทำให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูก และการทำหนา้ที่เสียไป
2.ข้อเคลื่อน (Dislocation)
3.ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
4.หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด(avascular necrosis)
Omphalocele
ลักษณะทางคลินิก
การตรวจก่อนการคลอด การใช้อัลตราซาวนด์ตรวจทารกในครรภ์ พบบริเวณกลางท้องทารกมีถุง ตัวถุงเป็นรูปโดม ผนังบาง มองเห็นอวยัวะภายในได้ อวัยวะที่อยู่ในถุง ประกอบด้วย ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
พบในทารกเพศหญิงได้บ่อยกว่า
ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยจะมีน้ำหนักตัวน้อย
การรักษา
operative
เหมาะสำหรับในรายที่ omphalocele มีขนาดใหญ่
conservative
ทำโดยใช้สารละลายฆ่าเชื้อ (antiseptic solution)
การผ่าตัด
1.เป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย (primary fascial closure)
มักทำเมื่อ omphalocele มีขนาดเล็กและมีอวัยวะอยู่ภายในไม่มาก
2.เป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นข้ันตอน (staged repair)
เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีการสร้างผนังหน้าท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหายไป
วัณโรคกระดูกและข้อ
( Tuberculous Osteomyelitis / Tuberculous Arthitis )
การรักษา
1.ให้ยาต้านวัณโรค
2.การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ ตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต ประวัติใกล้ชิดกับผู้ที่เป็นวัณโรค มีปวดข้ออาการขึ้นกับตำแหน่งที่เป็น
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม เชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่านทาง lympho- hematogenous spread
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกสันหลังค่อม หรืออาการกดประสาทไขสันหลัง จนอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต (Pott’s paraplegia) ปวดข้อ ผิวข้อขรุขระ ข้อเสื่อม ข้อยึดติด พิการ
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ สะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
การติดเชื้อในกระดูก (Osteomyelitis)
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อราเข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือจากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว ทำให้กระดูกส่วนนั้นสั้น มีการโก่งผิดรูปของกระดูก
การวินิจฉัย
เด็กเล็ก
มีอาการปวด แสดงออกโดยไม่ใช้แขน ขา ส่วนนั้น ทารกนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น (pseudoparalysis)
เด็กโต
บอกตำแหน่งที่ปวดได้ อาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร อาจมีการบาดเจ็บเฉพาะที่ร่วมด้วย
ผล CBC พบ Lym , ESR , CRP มีค่าสูง
ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
อาการ
• อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
• ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
• รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
• ปวดฝ่าเท้า
• ในรายที่แบนรุนแรง ผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
สาเหตุ
• เป็นพนัธุกรรมในครอบครัว
• เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ เช่น การเดินแบบเป็ด มีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
• เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
• โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
ฝ่าเท้าของคนปกติ เมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเรียก arch ในเด็กเล็กจะไม่มี ซึ่งจะเริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
เท้าปุก (Club Foot)
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ , การติดเชื้อในครรภ์
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง (equinus)
ส้นเท้าบิดเข้าใน (varus) ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้า
บิดงุ้มเข้าใน (adduction and cavus)
การรักษา
1.การดดัและใส่เฝือก อาศัยหลักการดัดให้รูปร่างเท้าปกติ ได้ผลดีกรณีที่แข็งไม่มาก มารักษาอายุน้อย
2.การผ่าตัด รายที่เนื้อเยื่อมีความแข็ง กระดูกแข็งผิดรูป ไม่สามารถดัดโดยใช้แรงจากภายนอกทำให้รูปเท้าดีขึ้น
การผ่าตัดกระดูก (osteotomy) ทำอายุ 3 – 10 ปี
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (subtalar soft tissue release) ทำอายุ < 3 ปี
การผ่าตัดเชื่่อมข้อกระดูก (triple fusion) ช่วงอายุ 10 ปี ขึ้นไป
การวินิจฉัย
ตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้าตามลักษณะ “เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน”
positional clubfoot : ขนาดเท้าใกล้เคียงเท้าปกติ บิดผิดรูปไม่มากนัก เมื่อเขี่ยด้านข้างของเท้า เด็กสามารถกระดกเท้าขึ้นเหมือนรูปเท้าปกติได้
idiopatic clubfoot : ไม่สามารถหายได้เองต้องได้รับ
ความพิการทางสมอง (Cerebral Palsy)
สาเหตุ
ก่อนคลอด
อาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ
มารดาเป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ขณะตั้งครรภ์
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์
ระหว่างคลอด / หลังคลอด
คลอดยาก ,สมองกระทบกระเทือน ,ขาดออกซิเจน ,ทารกคลอดก่อนกำหนด
การรักษา
1.ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆ โดยใช้วิธีทาง
กายภาพบำบัด (Physical Therapy)
อรรถบำบัด (Speech and Language Therapy)
2.ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากิน กลุ่ม diazepam
ยาฉีดเฉพาะที่ ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน คือกลุ่ม Botox
3.การผ่าตัด
การให้การดูแลรวมถึงให้กำลังใจ
5.การรักษาด้านอื่นๆ เช่น การผ่าตัดแก้ไขตาเหล่ น้ำลายยืด
ประเภท
Spastic CP จะมีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น
Ataxic CP กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบระเบียบ
Athetoid CP มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน
Mixed CP เป็นการผสมผสานลักษณะทั้งสาม
น.ส.ธัญญลักษณ์ พรมีสุข เลขที่ 36 ห้อง 2A
รหัส 613601037