Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
บทที่ 4.1 ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
1.ความผิดปกติของน้ำคร่ำ
ภาวะน้ำคร่ำมากผิดปกติหรือครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมารดา
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวาน
การตั้งครรภ์แฝด
การได้รับยา lithium
การติดเชื้อในไตรมาสแรก
ปัจจัยด้านทารก
ความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลาง
ความผิดปกติของหัวใจ
ทารกที่มีโครโมโซมผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
ขนาดมดลูกโตกว่าระยะเวลาของการขาดประจำเดือน
คลำส่วนของทารกทางหน้าท้องได้ไม่ชัดเจน
มีอาการแน่นอึดอัด หายใจลำบาก
ฟังเสียง FHS ไม่ชัดเจน
ตรวจได้ลักษณะเหมือนเป็นคลื่นน้ำทางหน้าท้อง (Fluid thrill)
อาจมีอาการบวมที่ขา ที่ท้อง หรืออวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ์
แน่นอึดอัด หายใจลำบาก
เคยตั้งครรภ์แฝดน้ำ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง
การตรวจทางช่องท้อง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวัดค่า AFI จากการ U/S > 25
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อมารดา
ระยะคลอด
สายสะดือย้อย
การคลอดยาก
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ระยะหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
ศีรษะเด็กลอยหรือท่าผิดปกติ
ความพิการของทารก
คลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์คลอด
ความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ผลต่อทารก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกเจริญเติบโตในครรภ์ไม่ดี
ทารกมีความผิดปกติแต่กำเนิด
อัตราตายปริกำเนิดสูง
แนวทางการดูแล
ระยะตั้งครรภ์
ให้รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
รักษาโรคหรือภาวะผิดปกติร่วม
ให้นอนพัก หากแน่นอึดอัดให้นอนศีรษะสูง
ถ้าพบความผิดปกติของทารก อาจสิ้นสุดการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
U/S เพื่อตรวจสอบพัฒนาการของทารกในครรภ์
การให้ยา Indomethacin
ถ้าไม่มีความผิดปกติของทารก แพทย์เจาะทางหน้าท้องให้น้ำคร่ำไหลออกเองช้าๆ
ระยะเจ็บครรภ์
มีภาวะผิดปกติ C/S
ป้องกันการตกเลือด ให้ Methergin หรือ Oxytocin
พิจารณาให้ oxytocin
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
สาเหตุ
ความผิดปกติของรก
รกลอกตัวก่อนกำหนด
รกเสื่อมสภาพ
ความผิดปกติของทารก
การอุดตันของระบบทางเดินปัสสาวะ
ความพิการแต่กำเนิด
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ความผิดปกติทางโครโมโซม
ทารกเสียชีวิต
การรั่วของถุงน้ำคร่ำเป็นเวลานาน
ความผิดปกติของมารดา
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
แฝดที่มีภาวะ TTTS
เบาหวานขณะตั้งครรภ์
ภาวะรกขาดเลือดไปเลี้ยง
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
มดลูกบีบหดรัดตัวทารกได้มาก
การกดทับของมดลูกต่อทารกในครรภ์
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกายและหน้าท้อง
คลำส่วนของทารกได้ง่าย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การวัดดัชนีน้ำคร่ำ AFI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5
การซักประวัติ
ภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
ทารกในครรภ์เคลื่อนไหวน้อย
ประวัติมีน้ำเดินออกทางช่องคลอด
การรักษา
การใส่น้ำเกลือไอโซโทนิคเข้าไปในถุงน้ำคร่ำ
การรักษาภาวะเจริญเติบโตช้า
2.ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (Fetal Growth Restriction)
การจำแนก
Asymmetrical IUGR
การเจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะ ยกเว้นขนาดศีรษะ
เกิดช่วงระยะท้ายของการตั้งครรภ์
Combined type
การเจริญเติบโตช้าแบบผสาน
Symmetrical IUGR
การเจริญเติบโตที่ช้าในทุกอวัยวะ
เกิดตั้งแต่ระยะเริ่มแรกของการตั้งครรภ์
สาเหตุ
จากตัวทารก
ความผิดปกติของโครโมโซม
การติดเชื้อในครรภ์
multiple fetuses
ทารกครรภ์แฝด
จากรก
poor placental perfusion
placental disorder
จากมารดา
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์
BMI
ภาวะโภชนาการ
การใช้สารเสพติดต่างๆ
ภาวะแทรกซ้อน
ผลต่อมารดา
ผลกระทบด้านจิตใจ
ภาระค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู
การผ่าตัดคลอดบุตรมากขึ้น
ผลต่อทารก
hypoglycemia
hypocalcemia
hyperbillirubinemia
delay devolopment
การวินิจฉัย
การตรวจ U/S
การวัดปริมาณน้ำคร่ำ
การวินิจฉัยหลังคลอด
เทียบน้ำหนักคลอดกับค่ามาตรฐานแต่ละอายุครรภ์
การตรวจร่างกาย
การวัด fundal height GA 24-38 wks.
การดูแลรักษา
ควรมีการตรวจวัด fundal height GA 24 wks.ขึ้นไป
การตรวจ U/S เพื่อประเมินอัตราการเจริญเติบโตของทารก
การวักประวัติ เพื่อดูการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ผ่านมา
การดูปริมาณน้ำคร่ำ
Screening for risk factor สตรีตั้งครรภ์ทุกราย
การ surveillance เช่น NST หรือ BPP
3.การตั้งครรภ์เกินกำหนด (Postterm pregnancy)
การตั้งครรภ์ที่มีอายุครรภ์ 42 สัปดาห์เต็ม
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัดอาจเกิดจากความผิดปกติของทารกในครรภ์
ต่อมใต้สมองผิดปกติ
ต่อมหมวกไตฝ่อ
Anencephaly
การขาดฮอร์โมน placental sulfatase dificiency
ปัจจัยที่ทำให้เกิด (Risk factors)
มีประวัติเคยตั้งครรภ์เกินกำหนด
อายุของการตั้งครรภ์
ครรภ์แรกพบได้มากกว่าครรภ์แรก
มีภาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์ปัจจุบัน
ดัชนีมวลกายก่อนตั้งครรภ์ BMI > 25 kg/m2
ผลกระทบ
ทารกตัวโตกว่าปกติ (Macrosomia)
ขี้เทาปนในน้ำคร่ำและปัญหาการสำลักขี้เทา
Morbidity and Mortality
การดูแลรักษา
ตรวจติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ก่อนคลอด
BPP
CST
NST
U/S
การชักนำการคลอด
การทำปากมดลูกให้พร้อมต่อการชักนำคลอด
การเซาะแยกถุงน้ำคร่ำ
การใช้ยา Prostaglandin
4.การตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
การตั้งครรภ์ในสตรีที่มีอายุระหว่าง 10-19 ปี
ปัจจัยที่ทำให้เกิด
ทัศนคติและค่านิยมเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศเปลี่ยนแปลงไป
การขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องเพศศึกษา
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและเป็นประจำเดือนเร็วขึ้น
ปัจจัยด้านจิตสังคม
ปัจจัยทางด้านสังคมประชากร
ผลกระทบ
ด้านจิตใจ
อารมณ์แปรปรวนง่าย
ผลกระทบด้านการศึกษา เศรษฐกิจและสังคม
ด้านร่างกาย
เกิดภาวะแทรกว้อนได้มากกว่าหญิงที่มีอายุมากกว่า 20 ปี
ผลกระทบของการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นต่อบุตร
การทำแท้ง
การไปรับการฝากครรภ์ล่าช้า
พันธกิจ
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงในตนเอง
การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงด้านสัมพันธภาพกับคู่สมรส
การสร้างสัมพันธภาพกับทารกในครรภ์
การเตรียมการคลอดและการเป็นมารดา
การยอมรับการตั้งครรภ์
การยอมรับบทบาทการเป็นมารดา
แนวทางการดูแล
ระยะคลอด
บรรเทาความเจ็บปวด
ระยะหลังคลอด
เน้นบทบาทในการเลี้ยงดูบุตร การคุมกำเนิด
ขณะตั้งครรภ์
การให้ข้อมูล
การปรับบทบาทการเป็นมารดา
การมารับบริการฝากครรภ์
หญิงตั้งครรภ์อายุมาก (elderly pregnancy)
ปัจจัยที่ทำให้เกิด
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
ปัจจัยด้ายการแพทย์
ปัจจัยด้านสังคมประชากร
ผลกระทบ
ต่อหญิงตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์แฝด
คลอดก่อนกำหนด/คลอดยาก
การแท้งบุตร
เกิดโรคเบาหวานและความดันสูงขณะตั้งครรภ์
ต่อทารกในครรภ์
ความพิการแต่กำเนิด
ทารกมีน้ำหนักตัวน้อย
เสี่ยงต่อความผิดปกติด้านโครโมโซม
Macrosomia
การพยาบาล
ระยะคลอด
เฝ้าระวังภาวะคลอดติดขัด
การชักนำการคลอดเฝ้าระวังเป็นพิเศษ
PIH
GDM
ระยะหลังคลอด
วางแผนการตั้งครรภ์และการคุมกำเนิด
ระยะตั้งครรภ์
คัดกรองความผิดปกติของโครโมโซม
การตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
ปัจจัยที่ทำให้เกิด
ปัจจัยด้านชีวภาพ
ปัจจัยด้านจิตสังคม
ปัจจัยด้านสังคมประชากร
ปัจจัยด้านพฤติกรรมการคุมกำเนิด
ผลกระทบ
ต่อบุตร
เสียชีวิตจากการทำแท้ง
บุตรถูกทอดทิ้ง
ต่อครอบครัว
เกิดความเครียด
ภาระค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น
ต่อหญิงตั้งครรภ์
ติดเชื้อ
ตกเลือด
เครียด วิตกกังวล ท้อแท้ รู้สึกผิด
ต่อสังคม
สูญเสียงบประมาณในการเลี้ยงดูเด็กที่ถูกทอดทิ้ง
การพยาบาล
การประเมินพัมนาการของการตั้งครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพ
การประเมินปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์
การประเมินความรู้พื้นฐาน
ประสบกสรณ์สนับสนุนทางสังคม
หญิงตั้งครรภ์ที่มีปํญหาความรุนแรงในครอบครัว
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยด้านครอบครัว
ลักษณะครอบครัว
เศรษฐานะทางสังคม
สัมพันธภาพ
ปัจจัยด้านสังคม
การสนับสนุนทางสังคม
มาตรฐานทางสังคม
ปัจจัยส่วนบุคคล
การศึกษา
สภาพจิตใจ
อายุ
วงจรความรุนแรง
ระยะของการทำร้าย
ระยะดื่มน้ำผึ้งพระจันทร์
ระยะเริ่มความตึงเครียด
ผลกระทบ
ด้านจิตใจและอารมณ์
เศร้า เครียด วิตกกังวล
ด้านพฤติกรรม
ใช้สารเสพติด
ต่อหญิงตั้งครรภ์
เกิดการบาดเจ็บ
ด้านสังคม
แยกตัวจากสังคม
ต่อทารกในครรภ์
แท้ง คลอดก่อนกำหนด
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การประเมินความรู้พื้นฐาน
การประเมินพัฒนาการของการตั้งครรภ์
การประเมินระบบสนับสนุนทางสังคม
มารดาที่ใช้สารเสพติดระหว่างตั้งครรภ์
Fetal alcohol syndrome
การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง
คางเล็ก ศีรษะเล็ก ตาเล็ก
หน้าเล็ก ริมฝีปากบางและกว้าง
ตาแคบ หนังตาตก
อาการอื่นที่พบได้
ความผิดปกติของหัวใจ
ระบบประสาท
อาการสั่น
ดูดนมไม่ดี
อ่อนปวกเปียก
พัฒนาการช้า
FAS
ดื่มมากกว่า 3 หน่วยสุรา
ด้านการเจริญเติบโต
IUGR
การสูบบุหรี่
คลอดก่อนกำหนด
แท้ง
IUGR
อัตราเสียชีวิตของทารกสูง
Nicotine และ Caffeine
ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย
การแท้ง
IUGR
การคลอดก่อนกำหนด
การตายคลอดเพิ่มมากขึ้น