Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
ความหมาย
กระดูกหักคือภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน
ข้อเคลื่อน คือภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต (growth Plate) มีความอ่อนแอ
เยื่อหุ้มกระดูก (periosteum) มีความแข็งแรงและสามารถสร้างกระดูกได้ดี
เยื่อบุโพรงกระดูก(endosteum) สามารถสร้างกระดูกได้มากและเร็ว
ปัญหาด้านการวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กการตรวจร่างกายอาจไม่แน่ชัด
การบวมของแขน ขาในเด็กจะเกิดขึ้นเร็วภายหลังมีกระดูกหัก
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (ischemic changes)พันผ้าแน่นอาจเกิด ภาวะ Volkman’s ischemic contracture
การเจริญเติบโตของเด็กเล็กเริ่มจากการทดแทนกระดูกอ่อนด้วย
ศูนย์กระดูกปฐมภูมิ (primary ossification center)
สถิติกระดูกหักในเด็ก
อายุ ที่พบบ่อยอยู่ในช่วง 6-15 ปี
เพศชายมากกว่าเพศหญิง
เกิดจากการหกล้มเป็นส่วนใหญ่
ต้าแหน่งที่พบบ่อยที่สุดคือ กระดูกต้นแขนหัก
กระดูกหักพบมากทางซีกซ้าย
ส่วนใหญ่รักษาโดยวิธีใส่เฝือกไว้
ใช้เวลาในการรักษาส่วนใหญ่ 4-6สัปดาห์
สาเหตุ
ได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชนเป็นตน
อาการและอาการแสดง
ปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
บวมเนื่องจากมีเลือดออก
รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
สิ่งที่สร้างขึ้นมา ประสานรอยร้าวหรือรอยแตกของกระดูก
collagen fiber)
osteoclast
callus
biological glue
external callus
endocallus
การรักษา
กรณีในการผ่าตัด
กระดูกมีแผลเปิด (open fracture)
กระดูกหักผ่านข้อ (displaceed intra articular fracture)
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter ชนิด Ш , ІV
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ(avulsion fracture)
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน(displaced fracture neck of femur)
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าที่ได้โดยไม่ผ่าตัด ซึ่งมักเป็นเวลานานกว่า 2 สัปดาห์ หรือมีเนื้อเยื่อขวางกั้น
หลักการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
เป้าหมายการรักษา
จัดกระดูกให้เข้าที่และดามกระดูก
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีและติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทางานได้เร็วที่สุด
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ ซักเกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุ
การตรวจร่างกาย ตรวจเหมือนเด็กทั่วไป
ลักษณะของกระดูกหัก
ลักษณะของข้อเคลื่อน มี 2 ลักษณะ คือ ลักษณะที่ข้อเคลื่อนออก
จากกันโดยตลอด และข้อที่เคลื่อนออกจากกันเพียงเล็กน้อย
การตรวจพบทางรังสี
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา
เด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลาตัว พันนาน 10-14 วัน
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่
ส่วนในเด็กโต
อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
เด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอในรายที่หักแบบ greenstick อาจใส่เฝือกแบบ posterior plaster splint ประมาณ 1 สัปดาห์เมื่อยุบบวม จึงเปลี่ยนเฝือกพันต่ออีก 2-3 สัปดาห์
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส ( Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อนปลายคว่ามือ
กระดูกปลายแขนหัก
เกิดจากการกระทาทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
เกิดกับเด็กชายมากกว่า เพราะซุกซนกว่า ต้าแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของกระดูกต้นขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
การวินิจฉัย
สังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล (Nursing care of facture in children)
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมงจาก 5 PS หรือ 6P
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็ก ต้องระวังเฝือกหัก
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้้า
แนะน้าเด็กและญาติ
ในการดูแลเฝือก
ดึงกระดูก( traction)
Bryant’s traction
ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fracture shaft of femur ) ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้าหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limbใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว
Dunlop’s tractionใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fractureที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ ( reduce ) ได้
Skin traction
ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur ในเด็กโต
Russell’s traction ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur หรือ fracture
ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
เตรียมผิวหนัง
ดูแลความสะอาดของร่างกาย
การตรวจวัดสัญญาณชีพ
การประเมินอาการของระบบประสาท และหลอดเลือด
การให้สารน้าทางหลอดเลือดดา
ด้านจิตใจ
ให้ค้าแนะน้าเกี่ยวกับการผ่าตัดแก่ผู้ป่วย (เด็กโต) และญาติ
ระยะต่าง ๆ ของการเกิด Volkmann’s ischemic contracture
ระยะเริ่มเป็น
มีบวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว เจ็บ ปวด กางนิ้วไม่ได้ ชา คล่ำชีพจรไม่ชัด
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้า เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่ ผิวหนังพอง
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทาให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
โรคคอเอียงแต่กาเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคลาพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อย ๆยุบลงไป
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
ภาพรังสีกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch)
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
การผ่าตัด
polydactyly
สาเหตุ
พันธุกรรม
การรักษา
ผ่าตัด
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : การผ่าตัด
การตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้าหนักตัว แนวลาตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่น ๆ : X-Ray
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจากัด
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลาตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก
การรักษา
แบบอนุรักษ์นิยม (Conservation
กายภาพบาบัด
บริหารร่างกาย
การผ่าตัด
แนวทางการพยาบาล
แนะนาการปฏิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
ดูแลความไม่สุขสบายจากความปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง โดย สังเกตและประเมินความปวด
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ โดยประเมินผิวหนังทั่วไปและบริเวณผ่าตัดว่ามีอาการบวม แดง ชา น้าเหลืองซึม แผลเปิดหรือไม่
แนะนาการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลาตัว