Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกกล้ามเนื้อ, แก้ไขปัญหาฉุกเฉิน,…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
พบได้มากในเด็กอายุ 6 เดือน –3 ปี
การขาดวิตามินดี
ความหมาย
ความบกพร่องในการจับเกาะของเกลือแร่บนเนื้อกระดูกอ่อน
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย
ท้องเดินเรื้อรัง
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและฟอสเฟต
Renal Tubular Insufficiency
Chronic renal Insufficiency
ภาวะฟอสเฟตต่ำ
ขาด Alkaline Phosphatase
อาการและอาการแสดง
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย
กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
ขวบปีแรกเด็ก จะมีความผิดรูป
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ
รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า
ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง
การรักษา
แบบประคับประคอง
ใช้หลักการรักษากระดูกทั่วไป
การรักษาสาเหตุ
ให้วิตามินดี
การป้องกัน
การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อวัน ต่อน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดก่อนกำหนด
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
ยากันชัก
ยาลดกรด
ยาระบาย
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูกและข้อ
คำจำกัดความ
Probable
น่าจะติดเชื้อที่กระดูก
การติดเชื้อในเลือด
ร่วมกับลักษณะทางคลินิคและภาพรังสี
Likely
คล้ายติดเชื้อที่กระดูก
พบลักษณะทางคลินิคและภาพรังสีเข้าได้กับการติดเชื้อโดยไม่พบจากการเพาะเชื้อ
Definite
ติดเชื้อกระดูกอย่างเเน่นอน
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
พบเชื้อที่เป็นสาเหตุ
หากไม่พบ
ต้องมี อาการ 5 ใน 6
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการปวดข้อ
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่นๆ ร่วม
อุณหภูมิร่างกาย> 38.3 องศาเซลเซียส
ตอบสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
อุบัติการณ์
พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี
พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาวมากที่สุด
tibia
humerus
femur
มักเป็นตำแหน่งเดียว
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย
เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือ จากอวัยวะใกล้เคียง
แพร่กระจายจากกระเเสเลือด
เชื้อรา
การวินิจฉัย
ประวัติ
มีอาการปวด
เด็กเล็กแสดงออกโดยไม่ใช้เเขนขา
ทารกนอนนิ่งไม่ ขยับแขนขาข้างที่เป็น
เด็กโตบอก ตำแหน่งที่ปวดได้
อาการไข้ อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกาย
มีปวด บวม แดง ร้อน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผล CBC
Leucocytosis
ESR
CRP มีค่าสูง
ผล Gram stain และ culture
การตรวจทางรังสี
Plain flim
พบเนื้อเยื่อส่วนลึกบวม
Bone scan
ได้ผลบวก บอกตำแหน่งได้เฉพาะ
MRI (Magnatic resonance imaging)
พบ soft tissue abcess
bone marrow edema
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัดเอาหนอง ชิ้นเนื้อกระดูกตายออก
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อphysis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก
ข้ออักเสบติดเชื้อ(septic arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ
การทิ่มแทงเข้าในข้อ
แพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง
ส่วนมากเป็นเชื้อแบคทีเรีย
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค
มีไข้ มีการอักเสบ
ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรก
ผล Lab
เจาะดูดน้ำในข้อ
ผล CBC
พบ ESR , CRP
สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี
Plain flim
อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound
บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan / MRI
ช่วยบอกถึงการติดเชื้อกระดูก
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
Arthrotomy and drainage
เพื่อระบายหนอง หยุดยั้งการทำลายข้อ
เพื่อได้หนองและชิ้นเนื้อส่งตรวจ
ภาวะแทรกซ้อน
Growth plate ถูกทำลาย
ข้อเคลื่อน
ข้อถูกทำลาย
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด
Tuberculous Osteomyelitis and
Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็ก
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก
ข้อเข่า/เท้า
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis
เข้าสู่ปอด
อาการและอาการแสดง
อาการจะเริ่มแสดง 1-3 ปี
อาจเป็นตำแหน่งเดียวหรือมากกว่า
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
มีไข้ต่ำๆ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
อ่อนเพลีย
ต่อมน้ำเหลืองโต
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก
การตรวจทางรังสี
plaint film
MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด
การตรวจชิ้นเนื้อ
ระบายหนอง
แก้การกดทับเส้นประสาท
อาการแทรกซ้อน
กระดูกสันหลังค่อม
กดประสาทไขสันหลัง
อ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต
ปวดข้อ
ผิวขรุขระ
Club Foot (เท้าปุก)
สาเหตุ
ยังไม่สรุปแน่ชัด
อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม
การติดเชื้อในครรภ์
แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์
แบบทราบสาเหตุ
teratologoc clubfoot
positional clubfoot
neuromuscular clubfoot
แบบไม่ทราบสาเหตุ
(ITCEV) พบตั้งแต่ก าเนิด
รูปร่างของเท้าที่มีลักษณะข้อเท้าจิกลง
ระบาดวิทยา
เพศชาย : เพศหญิง = 2.5 : 1
เพิ่มขึ้น ในญาติพี่น้อง
พยาธิสภาพ
เริ่มตั้งเเต่ระยะสร้างกระดูกเท้า
พบ navicular bone อยู่ medial และ inferior
Joint capsule และ Ligament
หดสั้นแข็ง
Tendonและ Muscle
เอ็นและกล้ามเนื้อขาข้างที่มีเท้าปุกจะเล็กกว่าปกติ
Nerve และ Vessel
การวินิจฉัย
การตรวจดูลักษณะรูปร่างเท้า
positional clubfoot
ใกล้เคียงเท้าปกติบิดผิดรูปไม่มากนัก
idiopatic clubfoot
ไม่สามารถหายได้เอง ต้องได้รับการรักษา
การรักษา
จุดมุ่งหมายของการรักษา
ทำให้เท้ามีรูปร่างใกล้เคียงเท้าปกติมากที่สุด
สามารถใช้ฝ่าเท้ารับน้ำหนัก
ปกติหรือใกล้เคียง
เท้าสามารถเคลื่อนไหวใกล้เคียงปกติและไม่เจ็บปวด
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
การผ่าตัดกระดูก
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
ฝ่าเท้าคนปกติเมื่อยืน จะมีช่องใต้ฝ่าเท้า
Arch
เด็กเล็กจะไม่มี
เริ่ม 3-10 ปี
ถ้าโค้งใต้ฝ่าเท้าไม่มี
Flat feet
อาการ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่แบนรุนแรงผู้ป่วยจะมีอาการปวดน่อง เข่าและปวดสะโพก
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
การเดินที่ผิดปกติ
เอ็นของข้อเท้ามีการฉีดขาด
โรคเกี่ยวกับสมองและไขสันหลัง
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Cerebral Palsy
ความพิการทางสมอง
สาเหตุ
เกิดขึ้นได้ทั้งก่อน/ระหว่าง /หลังคลอด
ก่อนคลอด
การติดเชื้อ
โรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
เบาหวาน
ความดัน
อุบัติเหตุ
ระหว่างคลอด /หลังคลอด
สมองกระทบกระเทือน
ขาดออกซิเจน
คลอดยาก
ทารกคลอดก่อนกำหนด
จำแนกโดยลักษณะการเคลื่อนไหวได้ 4 ประเภท
Ataxic CP
กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระบบระเบียบ
Athetoid CP
มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน
ทำให้โซเซและหกล้มได้ง่าย
Spastic CP
มีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น
ไม่สามารถหดตัวได้เหมือนกล้ามเนื้อ
ปกติ มีลักษณะแข็งทื่อ
Mixed CP
การผสมผสานลักษณะทั้งสาม
spastic cerebral palsy
Double hemiplegia
มีลักษณะของ hemiplegia ทั้ง 2 ข้างเพียงแต่ความรุนแรงของแต่ละข้างไม่เท่ากัน
quadriplegia
พวกนี้มีinvolvement ของ
ทั้งแขนและขาทั้ง 2 ข้างเท่า ๆ กัน
Hemiplegia
พวกที่มี spasticity ของแขนและขาข้างใดข้างหนึ่งส่วนอีกข้างหนึ่งปกติ
Diplegia
involved มากเฉพาะที่ขาทั้ง 2 ข้าง ในขณะที่แขนทั้ง 2 ข้าง
การรักษา
ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆ
กายภาพบำบัด
อรรถบำบัด
ลดความเกร็ง โดยใช้ยา
ยากินกลุ่ม diazepam
ยาฉีด เฉพาะที่ที่เป็นที่นิยมในปัจจุบัน
กลุ่ม Botox
การผ่าตัด
การผ่าตัดลดความตึงของกล้ามเนื้อ
การย้ายเอ็น
ผ่าตัดกระดูก
การให้การดูแลรวมถึงให้กำลังใจ
พ่อแม่มีส่วนสำคัญกับพัฒนาการของเด็ก
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
พบในเด็กมากกว่าผู้ใหญ่
เพศชายมากกว่าเพศหญิง
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่ผิดปกติ
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ระยะเวลาการมีก้อนเนื้องอก
อาการปวด
เคลื่อนไหว
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก
ตำแหน่งของก้อน
เคลื่อนไหว
ต่อมน้ำเหลือง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
MRI
CT
เพื่อดูการแพร่กระจายของโรค
หาระดับ (ALP)
ระดับแลคเตส ดีไฮโดรจิเนส (LDH) มีค่าสูงขึ้น
การพยากรณ์โรค
ตำแหน่งของโรคที่มีการพยากรณ์ดีที่สุด
ส่วนปลายของกระดูกต้นขา
ตำแหน่งของโรคที่มีการพยากรณ์ไม่ดี
กระดูกกลางตัว
ถ้าสามารถผ่าตัดออกได้หมดจะมีการพยากรณ์โรคที่ดี
ถ้ามีการแพร่กระจายของโรคการพยากรณ์จะไม่ดี
การรักษา
จุดมุ่งหมายหลัก
ป้องกันการแพร่กระจายของโรค
การตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การผ่าตัด
Omphalocele
การผิดรูปตั้งเเต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง
ลักษณะทางคลินิก
การใช้อัลตราซาวนด์ตรวจทารกในครรภ์
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 4 ซม. ขึ้นไป จนมากกว่า10 ซม.
การตรวจก่อนการคลอด
พบในทารกเพศหญิงได้บ่อยกว่า
การรักษา
conservative
ใช้สารละเลยฆ่าเชื้อ
Tr.Mercurochrome
povidene solution
topical antibacterial cream
Silver Zinc Sulfadiazine
เหมาะสำหรับในรายที่omphalocele มีขนาดใหญ่
operative
การรักษาด้วยวิธีผ่าตัด
อาจแบ่งออกได้เป็น2วิธี
วิธีสองเป็นการปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน
มักจะทำเมื่อ omphalocele มีขนาดเล็ก
วิธีแรกเป็นการเย็บผนังหน้าท้องปิดเลย
Gastroschisis
ความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว
เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การวินิจฉัย
wharton’s jelly
ลักษณะ
การดูแลรักษาพยาบาล การคลอดและนำส่งโรคพยาบาล
ใส่ orogastric tube ปลายเปิดลงถุง
การประเมินการหายใจ เตรียม endotrachial tube, suction
Incubator หรือผ้าอุ่น กระเป๋าน้ำร้อน
Rectal irrigation ด้วย NSS อุ่น
เริ่มให้antibiotic ได้ทันที
ตรวจระดับน้ำตาล เกลือแร่ในกระแสเลือด
เจาะเลือดแม่เพื่อเตรียมทำการจองเลือด เผื่อว่าต้องทำการให้เลือด
การดูแลทั่วไป
การอาบน้ำ ไม่ต้องทำเนื่องจากจะทำให้เด็กตัวเย็นมากขึ้น
ให้ vitamine K 1 mg intramuscular
รักษาความอบอุ่น
ประเมินภาวะทั่วไป ความสามารถในการหายใจ
decompression stomach
การค้นหาความพิการร่วม
แก้ไขปัญหาฉุกเฉิน
นางสาวกัลยรัตน์ กลิ่นจำปา เลขที่ 5 ห้อง B รหัสนักศึกษา 613601113